โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Photochemistry.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การศึกษาชีววิทยา.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
C Programming Lecture no. 6: Function.
Johann Dobereiner Johann Dobereiner จัดเรียงธาตุเป็นหมวดหมู่ โดยนำธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 1 Introduction.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
DNA สำคัญอย่างไร.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
กาแล็กซีและเอกภพ.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
การระเบิด Explosions.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
การจัดธาตุเป็นหมวดหมู่
พันธะเคมี.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton การทดลองของ J.J. Thomson ; 1897 การทดลองของ R.A. Milikan ;1909 การทดลองของ E. Rutherford ;1911 ทฤษฎีอะตอมสมัยใหม่ ทฤษฎีแสงของ J.C. Maxwell ทฤษฎีควอนตัมของแสง M. Plank ;1990 แบบจำลองอะตอมไฮโดรเจน ของ N. Bohr ; 1913 สมบัติทวิภาคของสสารและพลังงานของ Louis de Broglie ; 1924 หลักความไม่แน่นอนของ W. Heisenberg ทฤษฎีควอนตัมสมัยใหม่ ของ E. schrodinger เลขควอนตัม ออร์บิตัล ระดับพลังงานของออร์บิตัล การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอม

ปี 1803 จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นนักเคมีคนแรกที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับอะตอม ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้      ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค อนุภาคเหล่านี้เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกและทำให้สูญหายหรือสร้างขึ้นใหม่ไม่ได้      อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันย่อมมีสมบัติเหมือนกัน มีมวลเท่าๆ กัน แต่มีสมบัติแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ      สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิด ทำปฏิกิริยากันในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวอย่างง่าย  

อิเล็กตรอน นิวเคลียส 1. อะตอมไม่หนาทึบ ภายในมีที่ว่างอยู่มาก 2 ภายในมีอนุภาค ที่มีประจุบวกสูง และมีมวลมาก 3. อนุภาคดังกล่าวขนาดเล็กมากเทียบกับขนาดอะตอม 4. อนุภาคนั้นเรียก นิวเคลียส 5. มีอิเล็กตรอนกระจายอยู่ในว่างที่เหลื่อ

ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอมดั้งนี้ 1921 Rutherford, Harkins ตั้งสมติฐานเกี่ยวกับนิวตรอน ไม่สามารถทดลองได้ 1932 Chadwick ทดลองและได้รังสีที่คิดว่า (น่าจะเป็นรังสีแกมมา) มาอา คู่รี ทดลองและได้อนุภาคโปรตอน Chadwick ทำการคำณวนหาน้ำหนัก ของนิวตรอนได้ ประมาณ 20 ปี ตั้งยุค Thomson ถึง Rutherford และการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอมดั้งนี้

1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม atomos atom = แบ่งไม่ได้ (เล็กที่สุดแล้ว) = แบ่งไม่ได้ (เล็กที่สุดแล้ว) อยู่ตัว ไม่อยู่ตัว

1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม

1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม อนุภาคมูลฐานของอะตอม อนุภาค สัญลักษณ์ มวล ประจุ Electron e 9.11 x 10 -31 kg (me) -1 Proton p 1.67 x 10 -27 kg ( mp) +1 Neutron n kg ลองคิดเล่นๆ อัตราส่วนโดยมวลของ e : p : n เป็นเท่าไร ? e : p : n 1 1833 1833

1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม atom อนุภาคมูลฐานของอะตอม อนุภาค สัญลักษณ์ มวล ประจุ Electron e 9.11 x 10 -31 kg (me) -1 Proton p 1.67 x 10 -27 kg ( mp) +1 Neutron n kg อะตอมของธาตุแต่ละชนิดต่างกันตรงไหน? atom 1) จำนวน p 2) จำนวน n 3) จำนวน e Nucleus สรุป อะตอมธาตุต่างชนิดกัน จะมีจำนวนอนุภาคมูลฐาน (p,n) แตกต่างกัน

X 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z เลขมวล (mass number) คือ จำนวน นิวตรอน(n) + โปรตอน(p) X A Z สัญลักษณ์(Symbol) คือ ชื่อย่อของธาตุต่างๆ เลขอะตอม (atomic number) คือ จำนวน โปรตอน(p)

X 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ X A Z ชื่อธาตุนั้น ๆ จำนวนโปรตอน (p) = Z = จำนวนอิเล็กตรอน (e) จำนวนนิวตรอน (n) = A-Z ข้อสังเกตุ p = Z = e เนื่องจากประจุรวมของธาตุเป็นกลาง

O 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 16 8 ตัวอย่างที่ 1 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ O 16 8 ชื่อธาตุคือ oxygen จำนวนโปรตอน (p) = 8 = (e) จำนวนนิวตรอน (n) = 16 - 8 = 8 ข้อสังเกตุ O เป็นชื่อย่อของธาตุ oxygen หากจำไม่ได้สามารถเปิดดูจากคู่มือ

U 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 238 92 ตัวอย่างที่ 2 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ U 238 92 ชื่อธาตุคือ uranium จำนวนโปรตอน (p) = 92 = (e) จำนวนนิวตรอน (n) = 238 - 92 = 146

O 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม ไอโซโทป 16 8 17 18 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ O 16 8 17 18 ไอโซโทปของออกซิเจน ไอโซโทป (isotope) คือธาตุชนิดเดึยวกันที่โปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน

C 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 12 6 13 14 ตัวอย่างที่ 4 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ C 12 6 13 14 ไอโซโทปของคาร์บอน ไอโซโทป (isotope) คือธาตุชนิดเดึยวกันที่โปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน

H 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 1 2 3 ตัวอย่างที่ 5 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ H 1 2 3 ไอโซโทปของไฮโดรเจน ไอโซโทป (isotope) คือธาตุชนิดเดึยวกันที่โปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน

1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม

ศึกษาอายุของซากสิ่งมีชีวิตที่ค้นพบ ศึกษาการเจริญเติมโตของพืช 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม 14 ประโยชน์ของไอโซโทป C ศึกษาอายุของซากสิ่งมีชีวิตที่ค้นพบ ศึกษาการเจริญเติมโตของพืช 14 ครึ่งชีวิต ( Life Time ; t ½ ) ของ คาร์บอน 14 ( C ) = ? ปี

= เครื่องมือแกะรอย โครงสร้างอิเล็กตรอนภายในอะตอม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า = เครื่องมือแกะรอย โครงสร้างอิเล็กตรอนภายในอะตอม

ไฮน์ริช แฮตซ์

แสงขาว

6.6262

แบบจำลองอะตอมไฮโดรเจน

กลุ่มหมอกอิเล็กตรอน

16

16