การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่าน คลาวด์คอมพิวติงสำหรับสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน NEC 2013 ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
โดย ผู้วิจัย นางพรศิริ อูปคำ สังกัด โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
อรัญญา ไชยศร วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้(เอส.เทค.)
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสาวจิตตินัฎฐ์ สุขบัณฑิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.
Eastern College of Technology (E.TECH)
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่าน คลาวด์คอมพิวติงสำหรับสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน NEC 2013 ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ นิพนธ์ สุขวิลัย ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาการวัดและเทคโนโลยีทางวิทยาการปัญญา วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา

บทนำ

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย -เพื่อพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติง สำหรับสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน -เพื่อศึกษาผลของการใช้ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติง

สมมติฐานการวิจัย สถานศึกษาที่ใช้ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติงมีจำนวนผู้เรียนออกกลางคันลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

ขอบเขตงานวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจาก กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ จำนวน 6 แห่ง จำนวน 40,130 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนเก็บรวบรวมข้อมูลในปีการศึกษา 2553-2555

ขอบเขตงานวิจัย ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรอิสระ คือ ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาว์คอมพิวติง ตัวแปรตาม คือ คุณภาพของระบบ และ ผลการประเมินติดตามการออกกลางคัน ระยะเวลา ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเก็บรวบรวมข้อมูลในปีการศึกษา 2553-2555

ระบบช่วยเหลือผู้เรียน ขอบเขตงานวิจัย การพัฒนาระบบ (SDLC) Problem Recognition Feasibility Study Analysis Design Construction Conversion Maintenance ระบบบริหารสถานศึกษา เทคโนโลยีอัจฉริยะ คลาวด์คอมพิวติง ระบบช่วยเหลือผู้เรียน ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ผ่านคลาวด์คอมพิวติง รูปภาพกรอบแนวคิดการพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติง

ระบบช่วยเหลือผู้เรียน วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ 1 ระบบบริหารสถานศึกษา เทคโนโลยีอัจฉริยะ ระบบช่วยเหลือผู้เรียน SDLC การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนตามกระบวนการ SDLC

วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการใช้ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติง

สรุปผลการวิจัย รูปภาพระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติง ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ จำนวน 15 ท่าน ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติงที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ ด้าน Functional Requirement Test ด้าน Functional Test ด้าน Usability Test และด้าน Security Test อยู่ในระดับมากที่สุด

สรุปผลการวิจัย จำนวนผู้เรียนออกกลางคันก่อนและหลังการใช้งานระบบ

สรุปผลการวิจัย SS df MS F Between Groups 185.8281 2 92.91404 23.32349* Source of Variation SS df MS F Between Groups 185.8281 2 92.91404 23.32349* Within Groups 59.75566 15 3.983711 Total 245.5837 17   *P<0.01 ผลการเปรียบเทียบจำนวนผู้เรียนออกกลางคันก่อนและหลังการใช้งานระบบสถานศึกษาที่ใช้ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านคลาวด์คอมพิวติงมีจำนวนผู้เรียนออกกลางคันลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จำนวนผู้เรียนออกกลางคันก่อนและหลังการใช้งานระบบ

ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ Hardware Communication People

ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะ

Thank You !