การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Advertisements

ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
หน่วย การเรียนรู้.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วัตถุประสงค์ 1.นักเรียนบอกชื่อของพืชสมุนไพรได้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การจัดสารนิทัศน์ (DOCUMENTATION)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
รายงานผลการวิจัย.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ความหมาย การประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง หมายถึง การประเมินความสามารถตามสภาพ ความเป็นจริงของผู้เรียนโดยเทคนิคหรือวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้การประเมินต้องประเมินทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติตามมาตรฐาน (สมรรถนะ) ที่กำหนด

หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ระดับ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย 6 ประเมินค่า 5 สังเคราะห์ ทำเป็นธรรมชาติ สร้างบุคลิกภาพ 4 วิเคราะห์ ปฏิบัติถูกต้องทุกขั้นตอน จัดระบบตนเอง 3 นำไปใช้ ปฏิบัติมีความผิดพลาดน้อย เห็นคุณค่า 2 เข้าใจ ปฏิบัติตามคำสั่ง ตอบสนอง 1 รู้จำ เลียนแบบ การรับรู้ หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง เป็นการประเมินความก้าวหน้าและการแสดงออกของนักเรียน บนรากฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ ระดับ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย 6 ประเมินค่า - 5 สังเคราะห์ ทำเป็นธรรมชาติ สร้างบุคลิกภาพ 4 วิเคราะห์ ปฏิบัติถูกต้องทุกขั้นตอน จัดระบบตนเอง 3 นำไปใช้ ปฏิบัติมีความผิดพลาดน้อย เห็นคุณค่า 2 เข้าใจ ปฏิบัติตามคำสั่ง ตอบสนอง 1 รู้จำ เลียนแบบทำตาม การรับรู้

หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีรากฐานบนพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แตกต่างกัน การประเมินผลตามสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรต้อง ส่งเสริมซึ่งกันและกัน ต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้เหมาะสมกัน การประเมินผลตามสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรต้องมาจาก บริบทรากฐานทางวัฒนธรรมที่ผู้เรียนอาศัยอยู่ ผู้สอนต้องสามารถบูรณาการและปรับขยายหลักสูตรได้และทัน ยุคสมัยเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย

Triangulate Assessment ชิ้นงาน ผลงาน (นักเรียน) ผู้เรียน การแสดงผลงาน (บุคคลภายนอก) ข้อสอบมาตรฐาน (คณะกรรมการ)

ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง การประเมินอย่างเป็นทางการ เป็นการประเมินตาม ความสามารถภาคทฤษฎี เครื่องมือส่วนใหญ่ใช้แบบทดสอบ มาตรฐาน ใช้วัดความสามารถทางวิชาการ ความถนัด และ ความพร้อม กระบวนการคิด การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ เป็นการประเมิน ความสามารถภาคปฏิบัติ เน้นทักษะความสามารถในการ ทำงาน ได้แก่ บุคลิกภาพ (ทักษะการทำงานและจิตพิสัย) กระบวนการ และผลผลิต

วิธีการประเมินตามสภาพจริง การประเมินตามสภาพจริงควรทำแบบค่อยเป็นค่อยไปจนเข้าใจโดยมีการวางแผนการประเมินเพื่อศึกษาผลสะท้อนกลับและภาพรวมของการประเมินว่าเข้าถึงเป้าหมายของจุดประสงค์ของการประเมินชัดเจน โดยพิจารณาดังนี้ 1. จุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน ขอบเขตที่ต้องการประเมิน ยุทธวิธีหรือเทคนิคที่ใช้ประเมิน การเก็บข้อมูลและประมวลผล การจัดทำบันทึกและรายงาน

จุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน ประเมินพัฒนาและผลการเรียนรู้ ประเมินให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรียนรู้ สะท้อนให้เห็นพัฒนาการในจุดหลัก ๆ และหัวข้อการเรียนรู้ทั้งหมด

ขอบเขตที่ต้องการประเมิน พัฒนาการในด้านศิลปะและดนตรี ความสามารถทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา สังคมและวัฒธรรม ร่างกายและ บุคลิกภาพ หัวข้อหรือสาระการเรียนรู้ครอบคลุม ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ความสามารถและพัฒนาการของผู้เรียน

ยุทธวิธีหรือเทคนิคที่ใช้ประเมิน การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม แบบสำรวจ การประมาณค่า แฟ้มสะสมงาน เครื่องมือวินิจฉัยอื่น ๆ

การเก็บข้อมูลและประมวลผล ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ระยะเวลาที่ประเมิน ระหว่างผู้เรียนทำกิจกรรม ระหว่างการทำงานกลุ่ม ในและนอกเวลา การ ประชุมสัมมนา เหตุการณ์หรืองานพิเศษ การประมวลผลโดยใช้สถิติเบื้องต้น หรือใช้โปรแกรม สำเร็จรูป เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน จุดประสงค์การเรียนรู้ เกณฑ์มาตรฐานหรือสมรรถนะรายวิชา

การจัดทำบันทึกและรายงาน รายการกระบวนการปฏิบัติงาน ของผู้เรียน จากข้อมูลตามความสามารถและ พัฒนาการของผู้เรียน

ขอบคุณค่ะ