ประเภทของวรรณกรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแต่งกลอน.
Advertisements

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
เอกสารที่ต้องยื่นในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
บทเรียนโปรแกรม Power Point
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
สื่อการเรียน เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนนทก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชินูทิศ 2 โดย คุณครูกัลยา นารถภักดี
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
บทร้อยกรอง.
Management Information Systems
การอบรมวินัยทหารสำหรับ ผบ.หน่วย และนายทหารสังกัด
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
แก่นเรื่อง.
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียน.
โครงเรื่อง.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอน….ครูธีระพล เข่งวา
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สุนทรภู่ 2. รูปภาพ 3. ภาพวาดลายเส้น 4. กลอน
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
การฟังเพลง.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
โครงเรื่อง.
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
แหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข 1. IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 2 หน่วยที่ 2 2. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามแหล่งที่เกิด 2.1.
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
องค์ประกอบของบทละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
สัลลาปังคพิไสย.
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทของวรรณกรรม

การแบ่งประเภทของวรรณกรรม

การแบ่งประเภทของวรรณกรรม -แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ -แบ่งตามลักษณะลักษณะเนื้อเรื่อง -แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา -แบ่งตามต้นกำเนิด

๑.แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ 

๑.๑.วรรณกรรมร้อยแก้ว คือ วรรณกรรมที่ไม่กำหนดบังคับคำ ๑.๑.วรรณกรรมร้อยแก้ว  คือ วรรณกรรมที่ไม่กำหนดบังคับคำ หรือฉันทลักษณ์ เป็นความเรียงทั่ว ไป

คือ วรรณกรรมที่การเขียนมีการบังคับ ๑.๒. วรรณกรรมร้อยกรอง  คือ วรรณกรรมที่การเขียนมีการบังคับ รูปแบบด้วยฉันทลักษณ์ต่างๆ

๒.แบ่งตาม ลักษณะเนื้อเรื่อง มี ๒ ประเภท

๒.๑. วรรณกรรมบริสุทธิ์ วรรณกรรมที่แต่งขึ้นจากอารมณ์สะเทือนใจต่าง ๆ ไม่มีจุดมุ่งหมายที่จะให้วรรณกรรมนั้น ทรงคุณค่าในทางใดเป็นพิเศษ แต่วรรณกรรมนั้นอาจจะล้ำค่า ในสายตาของนักอ่านรุ่นหลังๆ ก็เป็นได้ แต่มิได้เป็นเจตจำนงแท้จริงของผู้แต่งผู้แต่งเพียงแต่จะแต่งขึ้นตามความปรารถนาในอารมณ์ของตัวเองเป็นสำคัญ……………………………………………………………………………

     ๒.๒.วรรณกรรมประยุกต์ วรรณกรรมที่แต่งขึ้นโดยมีเจตจำนงที่สนองสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจเกิดความบันดาลใจที่จะสืบทอดเรื่องราวความชื่นชมในวีรกรรมของผู้ใดผู้หนึ่งนั่นหมายถึงว่า มีเจตนาจะเขียนเรื่องราวขึ้นเพื่อประโยชน์อย่างหนึ่ง หรือมีจุดมุ่งหมายในการเขียนชัดเจน มิใช่เพื่อสนองอารมณ์อย่างเดียว เช่น วรรณกรรมประวัติศาสตร์ วรรณกรรมการละคร และอาจหมายรวมถึงพงศาวดารต่าง ๆ

๓.แบ่งตาม ลักษณะของเนื้อหา มี ๗ ประเภท

๓.๑. วรรณคดีนิราศ  วรรณคดีประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะตัว เป็นการเขียนในทำนองบันทึกการเดินทาง การพลัดพราก การคร่ำครวญเมื่อต้องไกลที่อยู่อาศัย คนรักหรือสิ่งรัก เช่น กำสรวลศรีปราชญ์ ทวาทศมาส นิราศของสุนทรภู่ นิราศของพระยาตรัง นิราศนรินทร์ เป็นต้น

๓.๒. วรรณคดีเฉลิมพระเกียร ๓.๒. วรรณคดีเฉลิมพระเกียร  เป็นวรรณคดีในเชิงประวัติศาสตร์การบันทึกเหตุการณ์แผ่นดินในทำนองสรรเสริญพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ วรรณคดี ประเภทนี้มีปรากฏอยู่ในวรรณคดีเป็นจำนวนมากมาย เช่น โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ เป็นต้น

๓.๓. วรรณคดีศาสนา  วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาทั้งโดยตรงและโดยทางอ้อม คือ มีอิทธิพลมาจากความเชื่อทางศาสนา เช่น มหาชาติฉบับต่าง ๆ พระปฐมสมโพธิกถา ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิฉบับต่าง ๆ รวมทั้งวรรณคดีจากชาดกเช่น มหาชาติฉบับต่าง ๆ พระปฐมสมโพธิกถา ไตรภูมิพระร่วง

๓.๔. วรรณคดีที่เกี่ยวกับพิธีการขนบธรรมเนียมประเพณี ๓.๔. วรรณคดีที่เกี่ยวกับพิธีการขนบธรรมเนียมประเพณี    เนื้อหาของวรรณคดีประเภทนี้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี หรือ พิธีการต่าง ๆ เช่น ตำรานางนพมาศ พระราชพิธีสิบสองเดือน ฯลฯ

๓.๕.วรรณคดีสุภาษิต      วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับคำสอน ข้อเตือนใจ เช่น กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ สุภาษิตพระร่วง โคลงราชสวัสดิ์ อิศรญาณภาษิต เป็นต้น

๓.๖. วรรณคดีการละครหรือนาฏวรรณคดี ๓.๖. วรรณคดีการละครหรือนาฏวรรณคดี     วรรณคดีประเภทนี้นำไปใช้แสดงละคร หรือการแสดงทางนาฏศิลป์ในลักษณะอื่น เช่น เรื่องอิเหนา รามเกียรติ์ สังข์ทอง ไกรทอง เป็นต้น

๓.๗. วรรณคดีนิยาย      วรรณคดีประเภทนี้ถ้าเขียนเป็นการประพันธ์ประเภทกลอนจะเรียกว่ากลอนประโลมโลกย์ วรรณคดีนิยายนี้มีทั้งไม่เขียนเป็นกลอน เช่น ลิลิตพระลอ และที่เขียนเป็นกลอน เช่น พระอภัยมณี เสภาขุนช้าง - ขุนแผน เป็นต้น

๔. การแบ่งตามต้นกำเนิด มี ๒ ประเภท

๔.๑. วรรณกรรมปฐมภูมิ เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากความคิด ความริเริ่ม การค้นพบ และ ประสบการณ์ของผู้ผลิตเองสำหรับนำไปใช้งานหรือเผยแพร่แก่สาธารณชน เช่น เอกสารจดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย และเอกสารส่วนบุคคล เป็นต้น 

๔.๒.วรรณกรรมทุติยภูมิ  เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากการรวบรวม วิเคราะห์เลือกสรร ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลมาจากวรรณกรรมปฐมภูมิ เช่น หนังสือตำราต่าง ๆ หนังสือพจนานุกรม และหนังสือสารานุกรม

๔.๓. วรรณกรรมตติยภูมิ  เป็นวรรณกรรมที่เกิดจาก การรวบรวม วิเคราะห์ เลือกสรร ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลจากวรรณกรรมทุติยภูมิเป็นหลัก เช่น เอกสารคำสอน รายงานของนักศึกษา และคู่มือศึกษากระบวนวิชาต่าง ๆ เป็นต้น

ขอบคุณครับ