ซ่อมเสียง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การแกว่ง ตอนที่ 2.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ระบบสุริยะ (Solar System).
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
คำถามที่ทำให้ความคิดเป็นระบบ
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ความหมายและชนิดของคลื่น
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
เลื่อยมือ hack saw.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
เครื่องดูดฝุ่น.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
แผนการจัดการเรียนรู้
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
การหักเหของแสง (Refraction)
การสร้างสรรค์บทละคร.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
หลักการบันทึกเสียง.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 28 สิงหาคม 2552
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ซ่อมเสียง

ภาพแสดงโมเลกุลของอากาศถูกอัดและขยาย ตามการสั่นของซ่อมเสียง

ภาพแสดงกราฟการกระจัดกับตำแหน่งคลื่นเสียง และกราฟความดันกับตำแหน่งคลื่นเสียง

ข้อใดถูก ข้อใดผิด เสียงเป็นคลื่นกล เสียงเป็นคลื่นตามยาว ข้อใดถูก ข้อใดผิด เสียงเป็นคลื่นกล เสียงเป็นคลื่นตามยาว ส่วนอัดของคลื่นเสียงจะมีความดันของอนุภาคตัวกลางต่ำ ส่วนขยายของคลื่นเสียงจะมีความดันของอนุภาคตัวกลางต่ำ ซ่อมเสียงที่กางออกจะทำให้เกิดส่วนอัดในอนุภาคของตัวกลาง

นักเรียนเปิดหนังสือเรียนหน้า 51 ดูตาราง 2.1 ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก อัตราเร็วเสียงจะ น้อย ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย อัตราเร็วเสียงจะ มาก ตัวกลางที่มีสภาพยืดหยุ่น (ค่ามอดุลัส) มาก ตัวกลางที่มีสภาพยืดหยุ่น (ค่ามอดุลัส) น้อย

อัตราเร็วเสียงในตัวกลางต่างๆ

ข้อใดถูก ข้อใดผิด อุณหภูมิสูง (อากาศร้อน) อัตราเร็วเสียงในอากาศจะมาก ข้อใดถูก ข้อใดผิด อุณหภูมิสูง (อากาศร้อน) อัตราเร็วเสียงในอากาศจะมาก อุณหภูมิต่ำ (อากาศเย็น) อัตราเร็วเสียงในอากาศจะน้อย อัตราเร็วเสียงในอลูมิเนียมมีค่ามากกว่าในเหล็ก อัตราเร็วเสียงในน้ำทะเลมีค่ามากกว่าในน้ำและปรอทตามลำดับ ปรอทมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำทะเลและน้ำตามลำดับ อัตราส่วนระหว่าง (ค่ามอดุลัส/ความหนาแน่น) ของตัวกลางใดมีค่ามากกว่า แสดงว่ามีอัตราเร็วของเสียงน้อยกว่า

ความสามารถในการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ต่างๆ Infrasonic waves infrasound Ultrasonic waves Ultrasound Audible waves

Ultrasound

ความดังกับรูปคลื่น

ตอบคำถามลงในสมุดนักเรียน (เขียนโจทย์ด้วย) ระดับความเข้มเสียงเป็นค่าที่บอกถึงอะไร ขีดเริ่มของการได้ยินเสียงความถี่ 1000 Hz มีค่าความเข้มเสียงและระดับความเข้มเสียงเท่าใด ขีดเริ่มของการเจ็บปวดของการได้ยินเสียงความถี่ 1000 Hz มีค่าความเข้มเสียงและระดับความเข้มเสียงเท่าใด ระดับความเข้มเสียงที่มีค่าเป็นลบ หมายความว่าอย่างไร การป้องกันหูจากเสียงที่เป็นอันตรายสามารถทำได้อย่างไร

คุณภาพของเสียง

Harmornic ที่เกิดขึ้นในท่อปลายปิด/เปิด

ตอบคำถามลงในสมุดนักเรียน (เขียนโจทย์ด้วย) ความถี่มูลฐาน คืออะไร ความถี่ธรรมชาติหรือความถี่สั่นพ้อง คืออะไร ฮาร์มอนิกที่ 4 มีความถี่เป็นกี่เท่าของฮาร์มอนิกมูลฐาน ค่าความถี่ฮามอนิกต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในท่อเครื่องดนตรี ขึ้นอยู่กับสิ่งใดบ้าง ความถี่มูลฐานของคลื่นเสียงที่เกิดจากท่อปลายเปิดหรือปิดที่มีค่ามากกว่ากัน หากเป่าเครื่องเล่นตนตรีแล้วปิดปากเครื่องเล่นดนตรีนั้นจะเกิดอะไรขึ้น

เสียงจากเครื่องเล่นดนตรีแต่ละชนิด คุณภาพเสียง (น้ำเสียง) ขึ้นอยู่กับสิ่งใด

ตอบคำถามลงในสมุดนักเรียน (เขียนโจทย์ด้วย) เสียงที่เกิดจากเครื่องเล่นดนตรีที่มีลักษณะและรูปร่างเหมือนกัน แต่ทำจากวัสดุต่างกัน มีค่าแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุใด นักเรียนสามารถบอกทิศทางของแหล่งกำเนิดเสียงได้ เพราะอะไร

ส่วนประกอบของหู

ตอบคำถามลงในสมุดนักเรียน (เขียนโจทย์ด้วย) หูของมนุษย์มีหน้าที่อย่างไร โครงสร้างของหูแบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง แก้วหูมีหน้าที่อะไร ขี้หูมีประโยชน์อย่างไร หูชั้นกลางประกอบด้วยอะไรบ้าง กระดูกรูปใดในหูชั้นกลางที่มีขนาดเล็กที่สุดและไม่มีการเปลี่ยนแปลงตั่งแต่เกิด

ตอบคำถามลงในสมุดนักเรียน (เขียนโจทย์ด้วย) กระดูกต่างๆ ในหูชั้นกลางมีหน้าที่ใด เมื่อเสียงเคลื่อนที่ผ่านหูชั้นกลางแล้วจะถูกส่งผ่านไปทางใดเพื่อไปยังหูชั้นใน อวัยวะใดทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลจากการสั่นเป็นพลังงานไฟฟ้า และอยู่ในโครงสร้างหูชั้นใด อวัยวะใดช่วยในการรักษาการทรงตัวของร่างกาย โพรงส่วนกลางของอวัยวะรูปหอยโข่งเรียกว่าอะไร เซลล์รูปขนมีหน้าที่อย่างไร

ตอบคำถามลงในสมุดนักเรียน (เขียนโจทย์ด้วย) เมื่อระดับน้ำภายในขวดทั้ง 2 ใบมีค่าใกล้เคียงกัน เสียงที่นักเรียนได้ยินจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด ระดับน้ำภายในขวด ทำให้เสียงที่นักเรียนได้ยินเปลี่ยนแปลงอย่างไร ดีดกีตาร์ความถี่ 240 Hz และ 243 Hz พร้อมกัน จะเกิดความถี่บีตส์เท่าใด และได้ยินเสียงที่มีความถี่เท่าใด ให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญของเรื่องเสียงเป็นผังความคิด แล้วตอบคำถามท้ายบททั้ง 11 ข้อ เป็นการบ้าน