ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

ระบบข้อมูลและกิจกรรมของโครงการสืบสาน พระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
Service Plan สาขา NCD.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระบบHomeward& Rehabilation center
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ครึ่งทางของโครงการสืบสานฯ หลักการ พระราชปณิธานสมเด็จย่า พระราชทาน เมื่อทรงก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ พ.ศ.2537 “ให้ช่วยผู้หญิงไทยพ้นภัยมะเร็งเต้านม ไม่ว่าเขาจะยาก.
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
สาขาโรคมะเร็ง.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สกลนครโมเดล.
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
สาขาโรคมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ 1
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 3 ธ.ค.57 จังหวัดอุบลราชธานี

Content การศึกษาเกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง วัตถุประสงค์ของโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม ระบบข้อมูลของโครงการฯ และโอกาสพัฒนาในการพัฒนาระบบข้อมูล กิจกรรมในปี 2558 และการเตรียมพร้อมกับการประเมินจากวิทยาลัยสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเชื่อมต่อข้อมูลจาก Cancer Registery ที่ รพ.มหาราชกับผู้ที่ทำหน้าที่ Center ของ สสจ.ในเรื่อง Breast Cancer

www.hpc4.go.th/director

การศึกษาประสิทธิผลของ BSE The Russian Federation/WHO Study (Russia 1999 –(อายุ 40-64 ปี จำนวน 120,310 ราย ) The Shanghai Study 2002 (Randomized trial of BSE in Shanghai : Final Result- (30-66 ปี จำนวน266,064 ราย) The Philippine Study 2006 (35-64 ปี จำนวน 404,947 ราย) The Thailand Study 2013-2017 (โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม (30-70 ปี จำนวน 1.9 ล้าน)

การวิจารณ์ผลการศึกษา Russia & Shanghai Study Internal validity & Consistency – Fair External Validity – Poor ** External validity คือ ความสามารถในการขยายผล (Generalized) ไปใช้ภายนอกพื้นที่ที่ทำการศึกษา ** อ้างอิง Breast Cancer Screening PDQ® NCI Home page Philippine Study ทำ 1 ปีเลิก เนื่องจาก Loss F/U มาก ** อ้างอิง Regular SBE & CBE for early detection of Breast cancer (Review) - Cochrane

โครงการสืบสานพระราชปณิธานฯ วัตถุประสงค์ หญิงอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) อย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ร้อยละ 80 พบก้อนสงสัยผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ /ตรวจยืนยัน/รักษา ร้อยละ 100 ศึกษาประสิทธิผล BSE ผลลัพธ์ พบก้อนมะเร็งเล็กลง (3 ปี) ,Staging Early ขึ้น (5 ปี) อัตราตายลดลง (10 ปี)

สรุปแผนการดำเนินงาน 1.ก้อน > 2 ซ.ม. 63% 2.Stage1+2= 72% 2556 ลงทะเบียน 1.9 ล้านคน 2557 BSE 1.4 ล้าน คน 9.6 ล้านครั้ง 8.7 ล้านครั้ง จริง (76%) 2558 ก่อน > 2 ซม. ลดลง 2560 Stage (1+2) เพิ่มขึ้น 2565 อัตราตาย ลดลง Preliminary Report 1.ก้อน > 2 ซ.ม. 63% 2.Stage1+2= 72% 3.พบมะเร็ง 586 ราย ปี 2556 = 23.5 ต่อแสน ของหญิง 30-70 ปีที่ลงทะเบียน 4.BSE ไม่สม่ำเสมอ เสี่ยงต่อการพบก้อน > 2 ซม.=1.9 เท่า (Significant) 5.BSE ไม่สม่ำเสมอ เสี่ยงต่อ Late Staging .=1.4 เท่า (ไม่ significant)

ระบบการบันทึกข้อมูล

สรุปเกี่ยวกับเรื่องระบบข้อมูล จังหวัดนครราชสีมา ใช้ สสจ.เป็น Center (Manager ระดับจังหวัด) ในการแปลงข้อมูล Cancer Register ไปสู่ BCI และ Key ข้อมูลผ่าน Web โดยมอบหมายเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่เป็น Center ในการบันทึกข้อมูล การบันทึกผ่าน Web ในรายที่เป็น Ca breast จะใช้รหัสสถานบริการของสถานบริการที่เป็น เป็นผู้ Register รพ.สต./รพช. Print แบบฟอร์ม BCI มาเก็บไว้ในที่ รพ.สต./รพช.และทำการประเมินทักษะการ BSE ว่าน่าจะ BSE แบบมีคุณภาพและสม่ำเสมอหรือไม่ รพช.จะเป็น Care manager ระดับจังหวัด ที่จะทราบภาพรวมของจำนวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระดับอำเภอ

จะ เปลี่ยน Missing Data ให้เป็นข้อมูลที่ใช้ได้อย่างไร

กิจกรรมในปีงบประมาณ 2558 การสร้างความตระหนักให้หญิง 30-70 ปี BSE ให้ถูกต้องสม่ำเสมอ หญิง 30-70 ปี มีและใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง การยืนยันการ BSE ของหญิง 30-70 ปี โดย อสม เชี่ยวชาญ การบันทึกข้อมูลการยืนยันจาก อสม. โดย รพ.สต/รพช/PCU การจัดการ รายที่ตรวจแล้วสงสัยผิดปกติ ได้แก่ CBE ,Mobile U/S ,Mammogram + U/S ,Dx , Rx ,Refer การบันทึกเวชระเบียนให้ครบถ้วน (1) , Key ข้อมูลผ่าน web (เฉพะที่เป็น Center) Update ข้อมูล BSE (1) และ มะเร็งเต้านม (2)

การเตรียมในส่วนของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ข้อมูลหญิง 30-70 ปีในพื้นที่รับผิดชอบของแต่ละสถานบริการ (a คน) แจกสมุดบันทึกการตรวจเต้านม (b คน) อบรม อสม.เชี่ยวชาญ กี่คน (c คน) มีและใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง อย่างไร และที่มีคุณภาพและสม่ำเสมอ (d คน) พบก้อนที่สงสัยผิดปกติจำนวนเท่าไร (e คน) กลุ่มที่พบก้อนสงสัยผิดปกติได้รับการจัดการอย่างไร เป็นมะเร็งเต้านมจำนวนกี่ราย (f คน)

การเตรียมตัวก่อนที่ทีมอาจารย์จุฬาจะมาประเมิน การ Complete และ Update ข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านมจะพบประมาณ 23 ต่อแสนหญิง 30-70 ปี ซึ่งพบไม่มาก และต้องการข้อมูลเชิงคุณภาพ โดย กรอกข้อมูลใน แบบฟอร์ม BCI ให้ครบถ้วน และเก็บไว้ที่สถานบริการ (รพ.สต/รพช/รพศ/รพท ต้องมีแฟ้มเก็บแบบฟอร์ม BCI และต้องรู้ว่าเป็นมะเร็งเต้านมกี่ราย /รายใหม่กี่ราย/รายเก่ากี่ราย/ก้อน >2 cm กี่ราย ,Stage 0,1,2,3,4 กี่ราย / ตายกี่รายในแต่ละปี) เช็คข้อมูลในแฟ้มว่าตรงกับข้อมูลบน Web หรือไม่ ขอสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เก็บไว้หน้างาน แล้วแจกเล่มใหม่ให้ (ให้เตรียมพร้อมที่หน้างาน เพราะเดือนธันวาคม 2557 ทีมอาจารย์จุฬาจะมาประเมิน)

FORM_BCI

ข้อมูลจำเป็น (The must) เลข 13 หลัก เพื่อ check ว่าอยู่ใน cohort ที่ Register หรือไม่ Diagnosis เป็น breast cancer แบบใด วันที่ที่ Confirm เป็นมะเร็งเต้านมเมื่อไหร่ ขนาดก้อนวัดจาก U/S ,Mammogram /Biopsy , Staging วันที่ตาย (กรณีที่เสียชีวิต)

ศูนย์มะเร็ง จะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งทุกชนิด โดยโปรแกรมของ รพ.สามารถดึงข้อมูลมะเร็งและผล Patho