สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
การวางแผนกลยุทธ์.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เทคโนโลยีด้านพลังงาน
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
Good Corporate Governance
นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การปฏิบัติที่สำคัญซึ่งสัมพันธ์กับความมั่นคง (ด้านเศรษฐกิจ)
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย ktoe แนวโน้มการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศ สัดส่วนการใช้พลังงานแยกตามประเภท การผลิต และนำเข้าพลังงานแต่ละประเภท ที่มา : กระทรวงพลังงาน พ.ศ. 2556

ปัญหาความมั่นคงด้านพลังงาน สัดส่วนการผลิตไฟฟ้า แยกตามประเภทพลังงาน สัดส่วนการใช้พลังงานเชื้อเพลิงสำเร็จรูป NG ภาคอุตสาหกรรม 16.83 % ก๊าซธรรมชาติ 67 % ถ่านหิน 20 % ทางบก 80.29 % นำเข้า 6 % น้ำ 5 % น้ำมันสำเร็จรูป ทางอากาศ 16.87 % ทางน้ำ 2.84 % ภาคขนส่ง 83.17 % น้ำมันสำเร็จรูป 1 % พลังงานทดแทน 1% ไฟฟ้า ประเทศไทยพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก (ร้อยละ 67) ซึ่งถือเป็นสัดส่วนที่สูงมาก ส่งผลให้เมื่อเกิดปัญหาด้านการ supply ก๊าซธรรมชาติ อาทิเช่น การซ่อมบำรุงแหล่มจ่ายก๊าซจากประเทศเพื่อบ้าน จะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในการผลิตไฟฟ้า หรือกระทบต่อต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า อย่างมาก เชื้อเพลิง ประเทศไทยเป็นประเทศผู้นำเข้าพลังงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อเพลิงเหลว โดยกว่า 83.17 % ใช้สำหรับภาคการขนส่ง และ 80.29 % ของเชื้อเพลิงที่ใช้ในภาคขนส่งเป็นการใช้ในการขนส่งทางบก ซึ่งผู้ใช้งานรถยนต์ทั้งส่วนบุคคล และบริษัทขนส่งยังไม่มีความตระหนักถึงความสำคัญของการใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก

วิสัยทัศน์ในการปฏิรูปพลังงาน อยากให้ประเทศไทยมีความมั่นคงด้านพลังงาน มีการกระจายประเภทเชื้อเพลิงหลายชนิดอย่างเหมาะสม มีโรงไฟฟ้าที่สะอาด มีประสิทธิภาพสูง และมีกำลังการผลิตเพียงพอต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ อยากให้ราคาพลังงานมีความโปร่งใส สะท้อนต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพตลาดที่แข่งขันกันอย่างเสรี และไม่มีการบิดเบือนด้วยผลประโยชน์แอบแฝง ไม่ว่าจะเป็นในทางการเงินหรือการเมือง อยากให้ผู้ใช้พลังงานมีทางเลือกที่เป็นธรรม ไม่ถูกผูกขาดทั้งจากรัฐหรือเอกชน กิจการใดที่ผูกขาดโดยลักษณะธรรมชาติเช่นท่อก๊าซ หรือสายส่งไฟฟ้า ต้องมีการกำกับดูแลที่เข้มงวดและโปร่งใส

วิสัยทัศน์ในการปฏิรูปพลังงาน อยากให้คนไทยทุกคนมีความตระหนักรู้เรื่องพลังงานเป็นอย่างดี และใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า เนื่องจากประเทศไทยยังต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ อยากให้ประเทศไทยมีการพัฒนาพลังงานทุกประเภท รวมทั้งพลังงานทดแทนเช่นก๊าซชีวภาพหรือขยะ และพลังงานหลักเช่นถ่านหินหรือพลังงานนิวเคลียร์อย่างมีสติและความเข้าใจที่ถ่องแท้ ไม่ปิดกั้นความคิดและทางเลือกพลังงานใด ๆ ด้วยอวิชชาหรือมิจฉาทิฏฐิ อยากให้โครงสร้างการตัดสินใจและการวางแผนพลังงานทำโดยผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจด้านพลังงาน โดยมีเป้าหมายผลประโยชน์ระยะยาวของประเทศเป็นที่ตั้ง และปราศจากการแทรกแซงทางการเมือง

โอกาสของพลังงานแสงอาทิตย์ ภาวะโลกร้อน ราคาพลังงานฟอสซิลแพงขึ้น ราคา Solar Cell ถูกลง ช่วงเวลาการผลิตที่สามารถลด Peak Load การลดความสูญเสียในสายส่ง (การใช้ไฟ ณ จุดผลิต) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการผลิตพลังงาน และการแก้กฏระเบียบให้ติดตั้งได้สะดวกขึ้น

ข้อจำกัดของพลังงานแสงอาทิตย์ ราคายังสูงกว่าพลังงานชนิดอื่น ๆ ผลิตได้ไม่ตลอดเวลา พัฒนาการแบตเตอรียังไม่ก้าวหน้าเพียงพอ ยังใช้เนื้อที่มาก เทียบกับกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้ สัดส่วนการนำเข้าสูง ต้องมีโรงไฟฟ้าฟอสซิลสำรอง