อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
Advertisements

นำเสนอ เรื่อง x.25.
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Asynchronous Transfer Mode
Personal Area Network (PAN)
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
ARP (Address Resolution Protocol)
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sharing Communication Lines
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
Computer Network.
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหาการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เบื้องต้น
Chapter 8 Network Topology , Lan and WanTechnology
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) อ.พรขัย พันธุ์วิเศษ.
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
เรื่อง Token Bus LAN จัดทำโดย นายปรีชา สุขมาก นายจักรกริน ย่องนุ่น เสนอ นาย จังหวัด ศรีสลับ.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area.
เครือข่ายแบบผสม จัดทำโดย ด. ช. ธีรภัทร ระงับทุกข์ ด. ช. ผดุงศักดิ์ อิ่มคุ้ม ด. ช. พีระยุทธ พอกพูล นำเสนอ อ. พรทิพย์ ตองติดรัมย์
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
จัดทำโดย ด. ญ. เจนจิรา หอมรำพึง ด. ญ. ณัฐชยา บุญเชื่อม ด. ญ. นัทตะวัน โปธิ นำเสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติด รัมย์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์

เครือข่ายแบบโทเคนริง (Token Ring) เป็น เทคโนโลยีเครือข่าย LAN ที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ในช่วงทศวรรษที่ 1970 ซึ่งต่อมา IEEE ได้นำมาเป็น แม่แบบในการพัฒนามาตรฐาน IEEE ซึ่ง IEEE หรือ โทเคนริง (Token Ring) จัดเป็นเครือข่ายที่ใช้ โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring) ด้วยสายคู่ตีเกลียวหรือ เส้นใยนำแสง อัตราการส่งข้อมูลของโทเค็นริงที่ใช้ โดยทั่วไปคือ 4 หรือ 16 Mbps กำหนดให้มีสถานีเชื่อมต่อ ได้ไม่เกิน 250 สถานี เครือข่าย LAN แบบโทเคนริงนั้น เหมาะกับงานที่ต้องการรับประกันอัตราความเร็วในการรับ / ส่งข้อมูล รวมทั้งงานที่ต้องการระบบความแน่นอนที่ สามารถใช้งานได้ดีอยู่แม้มีปัญหาเกิดขึ้นกับระบบ

แสดงลักษณะการเชื่อมต่อ เครือข่ายโทเคนริง เครือข่ายแบบ token ring เป็นระบบเครือข่าย แบบ LAN ซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์ต่อด้วย topology แบบ Ring ดังรูป และระบบเลขฐานสอง ( หรือ token) เป็นแบบ แผนการส่งที่ใช้ในการ ป้องกันการชนกันของ ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ที่ต้องการส่ง message ในเวลาเดียวกัน

ลักษณะการทำงานโปรโตคอล ของ token ring เครือข่าย LAN แบบโทเคนริง ตามมาตรฐานของ IEEE นั้นกำหนดให้ ใช้โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring) โดย มีข้อมูลสื่อสารสั้นๆ ที่เรียกว่า โทเคน (Token) เป็นตัวกำหนดว่าเครื่องใด สามารถส่งข้อมูลได้ ( เฟรมบน เครือข่ายจะประกอบไปด้วยโทเคน และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจะเป็น ข้อมูลของผู้ใช้งาน หรือข้อมูลของ ระบบที่ใช้ในการควบคุมการจัดการ เครือข่ายแบบโทเคนริง ) โทเคนจะถูก ส่งให้วิ่งไปรอบๆ เครือข่าย ถ้าเครื่อง ใดสามารถครอบครองโทเคนได้จะ สามารถส่งข้อมูลได้

ลักษณะการทำงานโปรโตคอล ของ token ring หากเครื่องใดได้โทเคนแต่ไม่มีข้อมูลที่จะส่งก็จะ ผ่านโทเคนไปยังเครื่องอื่นที่อยู่ถัดไป ก่อนส่งข้อมูลบน เครือข่ายแบบโทเคนริงนี้ การชนกันของข้อมูลในขณะส่ง จะไม่เกิดขึ้น โทเคนที่ " ไม่ว่าง " ( โทเคนที่ถูกทำ เครื่องหมายว่ากำลังถูกใช้งานในการส่งข้อมูลอยู่ ) จะถูกส่ง ต่อไปรอบวงจนกระทั่งถึงเครื่องปลายทางที่กำหนดเป็น ผู้รับ เครื่องที่เป็นผู้รับจะทำการยืนยันว่าได้รับข้อมูลแล้ว โดยทำเครื่องหมายลงในโทเคนนั้น จากนั้นโทเคนก็จะ เดินทางไปจนถึงเครื่องต้นทางที่เป็นผู้ส่ง เครื่องที่เป็นผู้ส่ง ก็จะทำการลบข้อมูลที่ติดอยู่กับโทเคนนั้น แล้วตามด้วย การลบเครื่องหมายที่แจ้งว่า " ไม่ว่าง " ออกไป จากนั้นก็จะ ปล่อยโทเคนเป็นอิสระสู่เครือข่ายเพื่อให้เครื่องอื่นได้มี โอกาสใช้งานได้ต่อไป

ขั้นตอนการทำงานของ Token Ring Protocol 1. ส่ง information frame เปล่า ไปรอบ ring อย่างต่อเนื่อง 2. เมื่อมีคอมพิวเตอร์ตอบการส่ง message จะเพิ่ม token เข้าไปใน frame เปล่า ( ซึ่งบิตของ token ในเฟรมจะเปลี่ยนจาก "0" เป็น "1") และแทรก message และจุดหมายปลายทางใน frame 3. เมื่อ frame ได้รับการตรวจสอบโดยแต่ละ เวิร์กสเตชั่น โดยเวิร์กสเตชั่นที่เป็นปลายทางของ message จะก็อบปี้ message จาก frame แล้ว เปลี่ยน token กลับเป็น 0

ขั้นตอนการทำงานของ Token Ring Protocol 4. เมื่อ frame กลับไปที่จุดเริ่มต้น และเห็นว่า token เปลี่ยนเป็น 0 แล้ว ซึ่งแสดงว่ามีการรับ message ไปแล้ว จากนั้นจะมีการลบ message จาก frame 5. frame ดังกล่าวจะหมุนเวียนเป็น frame เปล่า ต่อไป พร้อมที่จะรับ message จากอุปกรณ์หรือ คอมพิวเตอร์ใหม่

จะมีขนาด 3 ไบต์ 1. ไบต์แรกกำหนดจุดเริ่มต้นของโทเคน (Start delimiter) 2. ไบต์ต่อมาคือ Access Control Byte จะเป็นไบต์ที่กำหนด ระดับความสำคัญ ( Priority) และค่า สงวนให้กับโทเคนของ เครือข่าย ระดับความสำคัญนั้นมีไว้เพื่อให้เครื่องบางเครื่อง บนเครือ ข่ายมีสิทธิพิเศษในการรับ / ส่งข้อมูลได้มากชึ้น ซึ่ง ปกติแล้วเครื่องทุกเครื่องจะมีค่ามาตรฐาน ของตนเองอยู่ค่า หนึ่ง แต่เครื่องที่มีค่านี้สูงกว่าเครื่องอื่นๆ ก็จะสามารถถือโท เคนในเครือข่าย เพื่อใช้ส่งข้อมูลได้ก่อน 3. ไบต์สุดท้ายเป็นตำแหน่งปิดท้ายจะเป็นตัวบ่งชี้จุดสิ้นสุด ของโทเคน (End delimiter) ขนาดของโทเคน

รูปแบบการเชื่อมต่อโทเคนริงเข้ากับ Hub ( เชื่อมเครือข่ายเป็น Token Ring) ในเครือข่ายโทเคนริงทุก สถานีจะเชื่อมต่อโดยตรงกับโท เคนริงฮับหรือ MSAU (Multi- Station Access Unit) ้ ดังนั้นจึง มีโทโปโลยีแบบต่างๆ ในหนึ่ง เครือข่ายอาจมีมากกว่าหนึ่งฮับ ก็ได้ ซึ่งถ้ามีมากกว่าหนึ่งฮับ ขึ้นไป การพ่วงต่อฮับต้อง เป็นไปใน รูปแบบวงแหวน (Ring) แสดงการเชื่อมต่อของโทเคนริง จากรูปคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อโดยตรงเข้ากับฮับ และแต่ ละฮับจะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อไปยังฮับที่อยู่ติดกันทำให้ การเชื่อมต่อเป็นวงแหวน (Ring)

จบการ นำเสนอ