หลักการแปลผล สรุปผล II
ทบทวน ANOVA (จาก Sum Square ถึงสรุปผล) จากการทดลองการใช้ฮอร์โมนเร่งการสร้างไข่ในปลาตะเพียน ผู้วิจัยใช้ฮอร์โมน 3 ระดับ ได้แก่ 5, 10 และ 15 IU ต่อตัว โดยแต่ละกลุ่มใช้ปลาเพศเมียที่มีน้ำหนักตัวทั่วกันจำนวน 4 ตัว ได้ข้อมูลน้ำหนักรังไข่เป็นกรัมภายหลังการทดลองดังนี้ 5 IU 10 IU 15 IU 20 30 25 40 50
การวิเคราะห์ความแปรปรวน 5 IU 10 IU 15 IU 20 30 25 40 50 แผนการทดลองสุ่มสมบูรณ์ (CRD) Treatment = 3, หน่วยทดลอง = ปลาตะเพียน จำนวน 12 ตัว rep = 4, SOV DF SS MS F TREATMENT ERROR TOTAL 2 SS Trt 9 11 SS Total
การวิเคราะห์ความแปรปรวน 5 IU 10 IU 15 IU 20 30 25 40 50 85 120 150 355 ผลรวม
การวิเคราะห์ความแปรปรวน 5 IU 10 IU 15 IU 20 30 25 40 50 แผนการทดลองสุ่มสมบูรณ์ (CRD) Treatment = 3, หน่วยทดลอง = ปลาตะเพียน จำนวน 12 ตัว rep = 4, SOV DF SS MS F TREATMENT 2 529.17 264.59 4.82 ERROR 9 493.75 54.86 TOTAL 11 1022.92
Df-ตัวตั้ง Df-TRT Df-ตัวหาร Df-ERR
การวิเคราะห์ความแปรปรวน SOV DF SS MS F TREATMENT 2 529.17 264.59 4.82 ERROR 9 493.75 54.86 TOTAL 11 1022.92 F จากงานทดลองมีค่า 4.82 ค่าวิกฤต (critical value) หรือ F.05(2,9) จากตารางมีค่า 4.26 เมื่อ F งานทดลอง > ค่าวิกฤต ดังนั้น Reject Ho, แสดงว่ามีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกันด้วยความเชื่อมั่น 95% การแปลผล การเสริมฮอร์โมนมีผลเพิ่มนำหนักรังไข่อย่างมีนัยสำคัญ การสรุปผล