“Disk Operating System”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
การรับค่าและแสดงผล.
การใช้งานเครื่องถ่าย
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การสร้าง Shortcut คลิกขวาที่ Fileหรือ Folder หรือสิ่งที่จะสร้างเป็น Shortcut เลือกคำสั่ง.
การทำงานกับ Taskbar การย้าย การตั้งวันที่ และเวลา.
Use Case Diagram.
Unix: basic command.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การจัดส่งข้อมูลตราสารหนี้ โดยช่องทาง Internet หรือ DMS DA (Extranet)
Operating System ฉ NASA 4.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
SC131 ภาคต้น 2550 การอ่านและเขียนสตรีม
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
โปรแกรม Microsoft Access
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การใช้งาน Microsoft Windows XP
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
Install Driver Token Key
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
Page: 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคำสั่ง DOS DOS Command มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง ผศ. บุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
ระบบปฏิบัติการ DOS Disk Operating System.
Chapter 3 Set a Server by Linux.
เทคนิคการสืบค้น Google
Extra_08_Test_Modular_Calculator
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
Tips and Tools MS Excel By คนควน.
ระบบปฏิบัติการ Windows
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ฟังก์ชัน.
E-Sarabun.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การลงข้อมูลแผนการสอน
วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Lesson01 แมวเหมียว การแสดงภาพและเสียง. 1. คลิก New Project.
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
เฉลิมชัย ประเทืองรัตน์ อาจารย์ประจำหมวด คอมพิวเตอร์ วุฒิทางการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
บทที่ 8 ระบบปฏิบัติการ DOS
การจัดการไฟล์ File Management.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“Disk Operating System” DOS “Disk Operating System” โดย ประภาพร เตชอังกูร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

DOS DOS เป็น operating system (ที่รวมของซอฟท์แวร์ระบบที่ควบคุมหน่วยรับและแสดงผล และจัดการเรื่องไฟล์) ของเครื่อง PC

การใช้แฟ้มข้อมูล ไฟล์ (File) แปลว่า แฟ้มข้อมูล จะเป็นแฟ้มที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นภาษาหรือสัญลักษณ์ ไดเรกทอรี (Directory) คือหน่วยหรือที่อยู่ที่แสดงรายการของไฟล์ และไดเรกทอรีย่อย (sub directory)

กฎการตั้งชื่อ file มีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร ไม่มีช่องว่างระหว่างชื่อ ไม่มีอักขระพิเศษดังนี้ . , “ / \ [ ] : ; |   = สามารถใช้นามสกุลหรือส่วนขยาย (Extension) ได้ แต่ไม่เกิน 3 ตัวอักษร ซึ่งต้องมีจุดคั่นระหว่างชื่อกับนามสกุล ตัวอย่างเช่น ไฟล์ชื่อ command.com

เครื่องหมายพิเศษที่ใช้แทนชื่อไฟล์เป็นกลุ่ม (Wildcard Character) ? แทนอักขระใดก็ได้ 1 หรือ 0 ตัว ที่ตำแหน่ง ? นั้น เช่น TEST?.DAT อาจหมายถึงไฟล์ TEST.DAT , TEST1.DAT หรือ TEST2.DAT * แทนอักขระใดๆ ก็ได้ที่ตำแหน่ง * นั้น เช่น EXAM*.DAT อาจหมายถึงไฟล์ EXAM.DAT, EXAM1.DAT, EXAM12.DAT หรือ EXAMPLE.DAT ในกรณี *.* จะหมายถึงไฟล์ทุกไฟล์

Path Path คือส่วนที่ใช้ในการระบุตำแหน่งของไฟล์ การระบุpathจะทำให้ดอสช่วยเราค้นหาไฟล์ที่เราต้องการค้นหาได้ง่ายขึ้น

customer customer เราจะระบุ Path นี้ไว้นำหน้าชื่อไฟล์เราดังนี้

การ Boot DOS การเรียก DOS ขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การ Boot DOS ซึ่งมี 2 วิธี Cold Boot คือการ Boot DOS ในขณะที่เครื่องปิดอยู่ ซึ่งมีขั้นตอน คือ 1. ใส่แผ่น DOS ใน Drive A (กรณี Boot จากแผ่น) 2. เปิดสวิตซ์เครื่องและจอภาพตามลำดับ Warm Boot คือการ Boot DOS ในขณะที่เครื่องเปิดอยู่แล้ว ซึ่งจะใช้วิธีนี้เมื่อเครื่องเกิดอาการ hang ขณะที่กำลังใช้งาน 2. กดปุ่ม Ctrl-Alt-Del แล้วปล่อย

ประเภทของคำสั่ง DOS 1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่ง DOS ที่อยู่ในหน่วยความจำ (RAM) ตลอดเวลาซึ่งถูกบรรจุตั้งแต่ Boot DOS ดังนั้นในการเรียกใช้คำสั่งภายใน จึงไม่ต้องมีแผ่น DOS คำสั่งภายในจะเป็นส่วนหนึ่งของไฟล์ COMMAND.COM ดังนั้นเมื่อเรียกดูไฟล์ (DIR) จะไม่เห็น

ประเภทของคำสั่ง DOS (ต่อ) 2. คำสั่งภายนอก (External Command) เป็นคำสั่งที่เก็บในแผ่น DOS ดังนั้นเมื่อใช้คำสั่งนี้ต้องมีแผ่น DOS ทุกครั้ง (ในกรณี Boot จากแผ่น) คำสั่งประเภทนี้เมื่อเรียกดูไฟล์ (DIR) จะมีส่วนขยายเป็น COM หรือ EXE

(I) DIR [d:] [filename[.ext]] [/P] [/W] คำสั่ง DOS 1. DIR เป็นคำสั่งในการเรียกดูชื่อและรายละเอียดแฟ้มข้อมูล (file) ในแผ่น รูปแบบ d: ระบุไดร์ฟของแผ่น filename ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการค้นหา .ext ส่วนขยายของชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการค้นหา /P แสดงทีละจอภาพ /W แสดงเฉพาะรายชื่อ (I) DIR [d:] [filename[.ext]] [/P] [/W]

ตัวอย่างคำสั่ง DIR C:\>DIR C:\>DIR WINDOWS C:\>DIR WINDOWS /P C:\>DIR WINDOWS /W C:\>DIR D: C:\>DIR WINDOWS\*.EXE C:\>DIR t*.???

คำสั่ง DOS (ต่อ) 2. PROMPT รูปแบบ โดยใช้เครื่องหมาย $ นำหน้าอักษรต่อไปนี้ (I) PROMPT g เครื่องหมายมากกว่า l เครื่องหมายน้อยกว่า q เครื่องหมายเท่ากับ b เครื่องหมาย : t เวลา d วันที่ v เวอร์ชัน DOS n ไดร์ฟ

ตัวอย่างคำสั่ง PROMPT C:\>PROMPT $n (แสดงไดร์ฟ) C:\>PROMPT $g (แสดงเครื่องหมาย >) C:\>PROMPT $d$q (แสดงวันที่และตามด้วยเครื่องหมาย = ) C:\>PROMPT $p$g (แสดงชื่อpathและตามด้วยเครื่องหมาย > )

โครงสร้างต้นไม้ (tree structure) โดย ประภาพร เตชอังกูร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

(I) MD [d:] [path] หรือ MKDIR [d:] [path] คำสั่ง DOS (ต่อ) 3. MD หรือ MKDIR เป็นคำสั่งในการสร้างไดเรคทอรี เป็นคำย่อมาจาก MaKe DIRectory รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>MD SUB1 D:\>MD SUB2 D:\>MD SUB1\SUB11 (I) MD [d:] [path] หรือ MKDIR [d:] [path]

คำสั่ง DOS (ต่อ) 4. CD เป็นคำสั่งในการย้ายการทำงานเข้าสู่ไดเรคทอรี เป็นคำย่อมาจาก Change Directory รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>CD SUB1 D:\ SUB1>CD SUB11 (I) CD [d:] [path] โดย ประภาพร เตชอังกูร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสั่ง DOS (ต่อ) CD.. เป็นย้ายออกจากไดเรคทอรีปัจจุบัน 1 ขั้น

คำสั่ง DOS (ต่อ) D:\>CD SUB1\SUB11 CD\ ย้ายกลับมาที่ root directory

คำสั่ง DOS (ต่อ) 5. RD เป็นคำสั่งในการลบไดเรคทอรี ย่อมาจาก ReMove DIRectory รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>RD SUB2 (I) RD [d:] [path]

(E) TREE [d:] [path] [/F] คำสั่ง DOS (ต่อ) 6. TREE เป็นคำสั่งในการขอดูโครงสร้างไดเรคทอรี รูปแบบ /F แสดงชื่อไฟล์ด้วย ตัวอย่างเช่น D:\>TREE /F D:\>TREE SUB1 (E) TREE [d:] [path] [/F]

(I) COPY CON [d1:] [path] filename [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 7. COPY CON เป็นคำสั่งในการสร้างแฟ้มข้อมูล (โดยรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด แล้วจบด้วย Ctrl+Z ตามด้วย Enter) รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>COPY CON SUB1\test1.txt พิมพ์ This is test (I) COPY CON [d1:] [path] filename [.ext]

คำสั่ง DOS (ต่อ) 8. COPY เป็นคำสั่งในการสำเนาแฟ้มข้อมูล รูปแบบ COPY [d1:] [path] filename1 [.ext] หรือ COPY [d1:] [path] filename1 [.ext] [d2:] [path] [d2:] [path] filename2 [.ext]

ตัวอย่างคำสั่ง COPY D:\>COPY SUB1\test1.txt C:exam1.txt สั่ง D:\>DIR C:exam1.txt D:\>COPY C:exam1.txt C:exam2.txt สั่ง D:\>DIR C: D:\>COPY C:ex???.txt D:SUB1\SUB11 สั่ง D:\>DIR SUB1\SUB11

(I) REN [NAME] [d1:] [path] filename1[.ext] filename2 [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 9. REN เป็นคำสั่งในการเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (ไฟล์ยังคงเก็บอยู่ที่เดิม) รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>REN SUB1\test1.txt new.txt สั่ง D:\>DIR SUB1 D:\>REN SUB1\SUB11\*.txt *.bat สั่ง D:\>DIR SUB1\SUB11 (I) REN [NAME] [d1:] [path] filename1[.ext] filename2 [.ext]

(I) DEL [d:] [path] filename [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 10. DEL เป็นคำสั่งในการลบแฟ้มข้อมูล DELย่อมาจาก DELete รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>DEL C:exam1.txt สั่ง D:\>DIR C: D:\>DEL SUB1\SUB11\?????.bat สั่ง D:\>DIR SUB1\SUB11 (I) DEL [d:] [path] filename [.ext]

(I) TYPE [d:] [path] filename [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 11. TYPE เป็นคำสั่งในการขอดูข้อมูลในไฟล์ รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>TYPE SUB1\new.txt (I) TYPE [d:] [path] filename [.ext]

คำสั่ง DOS (ต่อ) 12. DATE เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขวันที่ ตามรูปแบบ mm-dd-yy รูปแบบ 13. TIME เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขเวลา ตามรูปแบบ hh-mm[:ss[.xx]] (I) DATE (I) TIME

คำสั่ง DOS (ต่อ) 14. VER เป็นคำสั่งในการขอดูเวอร์ชันของ DOS ที่ใช้ รูปแบบ 15. VOL เป็นคำสั่งในการขอดูชื่อแผ่น (volume label) และหมายเลขประจำแผ่นข้อมูล (serial number) (I) VER (I) VOL [d:]

คำสั่ง DOS (ต่อ) 16. LABEL เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขชื่อแผ่น รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>LABEL พิมพ์ diligence (E) LABEL [d:] [path]

ตัวอย่างDOS จงทำการสร้างโครงสร้างต่อไปนี้

ตัวอย่างDOS (ต่อ) 1.ให้สร้างfileที่ชื่อTest ใน drive D โดยกำหนดให้มีข้อมูลเป็นดังนี้ LAB204105 คำสั่งที่ใช้ D:\>COPY CON test จบการป้อนข้อมูลด้วยการกด CTRL+Z แล้ว Enter

ตัวอย่างDOS (ต่อ) 2.สร้างdirectory XXX คำสั่งที่ใช้คือ D:\>MD XXX คำสั่งที่ใช้คือ D:\>CD XXX

ตัวอย่างDOS (ต่อ) 4.สร้างdirectory YYY คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX >MD YYY 5.ย้ายการทำงานเข้าสู่ directory YYY คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX >CD YYY

ตัวอย่างDOS (ต่อ) 6.สร้างdirectory ZZZ คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX\YYY>MD ZZZ 7.ย้ายการทำงานกลับไปยัง root directory คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX\YYY>CD\

ตัวอย่างDOS (ต่อ) 8. สำเนาไฟล์ Test ไปไว้ใน directory YYY ใช้ชื่อ Test1 คำสั่งที่ใช้คือ D:\ >COPY Test XXX\YYY\Test1 9.แสดงโครงสร้างของ directory และ file ที่สร้างขี้นจากคำสั่ง DOS คำสั่งที่ใช้คือ D:\ >TREE /F