“Disk Operating System” DOS “Disk Operating System” โดย ประภาพร เตชอังกูร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
DOS DOS เป็น operating system (ที่รวมของซอฟท์แวร์ระบบที่ควบคุมหน่วยรับและแสดงผล และจัดการเรื่องไฟล์) ของเครื่อง PC
การใช้แฟ้มข้อมูล ไฟล์ (File) แปลว่า แฟ้มข้อมูล จะเป็นแฟ้มที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นภาษาหรือสัญลักษณ์ ไดเรกทอรี (Directory) คือหน่วยหรือที่อยู่ที่แสดงรายการของไฟล์ และไดเรกทอรีย่อย (sub directory)
กฎการตั้งชื่อ file มีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร ไม่มีช่องว่างระหว่างชื่อ ไม่มีอักขระพิเศษดังนี้ . , “ / \ [ ] : ; | = สามารถใช้นามสกุลหรือส่วนขยาย (Extension) ได้ แต่ไม่เกิน 3 ตัวอักษร ซึ่งต้องมีจุดคั่นระหว่างชื่อกับนามสกุล ตัวอย่างเช่น ไฟล์ชื่อ command.com
เครื่องหมายพิเศษที่ใช้แทนชื่อไฟล์เป็นกลุ่ม (Wildcard Character) ? แทนอักขระใดก็ได้ 1 หรือ 0 ตัว ที่ตำแหน่ง ? นั้น เช่น TEST?.DAT อาจหมายถึงไฟล์ TEST.DAT , TEST1.DAT หรือ TEST2.DAT * แทนอักขระใดๆ ก็ได้ที่ตำแหน่ง * นั้น เช่น EXAM*.DAT อาจหมายถึงไฟล์ EXAM.DAT, EXAM1.DAT, EXAM12.DAT หรือ EXAMPLE.DAT ในกรณี *.* จะหมายถึงไฟล์ทุกไฟล์
Path Path คือส่วนที่ใช้ในการระบุตำแหน่งของไฟล์ การระบุpathจะทำให้ดอสช่วยเราค้นหาไฟล์ที่เราต้องการค้นหาได้ง่ายขึ้น
customer customer เราจะระบุ Path นี้ไว้นำหน้าชื่อไฟล์เราดังนี้
การ Boot DOS การเรียก DOS ขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การ Boot DOS ซึ่งมี 2 วิธี Cold Boot คือการ Boot DOS ในขณะที่เครื่องปิดอยู่ ซึ่งมีขั้นตอน คือ 1. ใส่แผ่น DOS ใน Drive A (กรณี Boot จากแผ่น) 2. เปิดสวิตซ์เครื่องและจอภาพตามลำดับ Warm Boot คือการ Boot DOS ในขณะที่เครื่องเปิดอยู่แล้ว ซึ่งจะใช้วิธีนี้เมื่อเครื่องเกิดอาการ hang ขณะที่กำลังใช้งาน 2. กดปุ่ม Ctrl-Alt-Del แล้วปล่อย
ประเภทของคำสั่ง DOS 1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่ง DOS ที่อยู่ในหน่วยความจำ (RAM) ตลอดเวลาซึ่งถูกบรรจุตั้งแต่ Boot DOS ดังนั้นในการเรียกใช้คำสั่งภายใน จึงไม่ต้องมีแผ่น DOS คำสั่งภายในจะเป็นส่วนหนึ่งของไฟล์ COMMAND.COM ดังนั้นเมื่อเรียกดูไฟล์ (DIR) จะไม่เห็น
ประเภทของคำสั่ง DOS (ต่อ) 2. คำสั่งภายนอก (External Command) เป็นคำสั่งที่เก็บในแผ่น DOS ดังนั้นเมื่อใช้คำสั่งนี้ต้องมีแผ่น DOS ทุกครั้ง (ในกรณี Boot จากแผ่น) คำสั่งประเภทนี้เมื่อเรียกดูไฟล์ (DIR) จะมีส่วนขยายเป็น COM หรือ EXE
(I) DIR [d:] [filename[.ext]] [/P] [/W] คำสั่ง DOS 1. DIR เป็นคำสั่งในการเรียกดูชื่อและรายละเอียดแฟ้มข้อมูล (file) ในแผ่น รูปแบบ d: ระบุไดร์ฟของแผ่น filename ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการค้นหา .ext ส่วนขยายของชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการค้นหา /P แสดงทีละจอภาพ /W แสดงเฉพาะรายชื่อ (I) DIR [d:] [filename[.ext]] [/P] [/W]
ตัวอย่างคำสั่ง DIR C:\>DIR C:\>DIR WINDOWS C:\>DIR WINDOWS /P C:\>DIR WINDOWS /W C:\>DIR D: C:\>DIR WINDOWS\*.EXE C:\>DIR t*.???
คำสั่ง DOS (ต่อ) 2. PROMPT รูปแบบ โดยใช้เครื่องหมาย $ นำหน้าอักษรต่อไปนี้ (I) PROMPT g เครื่องหมายมากกว่า l เครื่องหมายน้อยกว่า q เครื่องหมายเท่ากับ b เครื่องหมาย : t เวลา d วันที่ v เวอร์ชัน DOS n ไดร์ฟ
ตัวอย่างคำสั่ง PROMPT C:\>PROMPT $n (แสดงไดร์ฟ) C:\>PROMPT $g (แสดงเครื่องหมาย >) C:\>PROMPT $d$q (แสดงวันที่และตามด้วยเครื่องหมาย = ) C:\>PROMPT $p$g (แสดงชื่อpathและตามด้วยเครื่องหมาย > )
โครงสร้างต้นไม้ (tree structure) โดย ประภาพร เตชอังกูร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(I) MD [d:] [path] หรือ MKDIR [d:] [path] คำสั่ง DOS (ต่อ) 3. MD หรือ MKDIR เป็นคำสั่งในการสร้างไดเรคทอรี เป็นคำย่อมาจาก MaKe DIRectory รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>MD SUB1 D:\>MD SUB2 D:\>MD SUB1\SUB11 (I) MD [d:] [path] หรือ MKDIR [d:] [path]
คำสั่ง DOS (ต่อ) 4. CD เป็นคำสั่งในการย้ายการทำงานเข้าสู่ไดเรคทอรี เป็นคำย่อมาจาก Change Directory รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>CD SUB1 D:\ SUB1>CD SUB11 (I) CD [d:] [path] โดย ประภาพร เตชอังกูร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสั่ง DOS (ต่อ) CD.. เป็นย้ายออกจากไดเรคทอรีปัจจุบัน 1 ขั้น
คำสั่ง DOS (ต่อ) D:\>CD SUB1\SUB11 CD\ ย้ายกลับมาที่ root directory
คำสั่ง DOS (ต่อ) 5. RD เป็นคำสั่งในการลบไดเรคทอรี ย่อมาจาก ReMove DIRectory รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>RD SUB2 (I) RD [d:] [path]
(E) TREE [d:] [path] [/F] คำสั่ง DOS (ต่อ) 6. TREE เป็นคำสั่งในการขอดูโครงสร้างไดเรคทอรี รูปแบบ /F แสดงชื่อไฟล์ด้วย ตัวอย่างเช่น D:\>TREE /F D:\>TREE SUB1 (E) TREE [d:] [path] [/F]
(I) COPY CON [d1:] [path] filename [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 7. COPY CON เป็นคำสั่งในการสร้างแฟ้มข้อมูล (โดยรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด แล้วจบด้วย Ctrl+Z ตามด้วย Enter) รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>COPY CON SUB1\test1.txt พิมพ์ This is test (I) COPY CON [d1:] [path] filename [.ext]
คำสั่ง DOS (ต่อ) 8. COPY เป็นคำสั่งในการสำเนาแฟ้มข้อมูล รูปแบบ COPY [d1:] [path] filename1 [.ext] หรือ COPY [d1:] [path] filename1 [.ext] [d2:] [path] [d2:] [path] filename2 [.ext]
ตัวอย่างคำสั่ง COPY D:\>COPY SUB1\test1.txt C:exam1.txt สั่ง D:\>DIR C:exam1.txt D:\>COPY C:exam1.txt C:exam2.txt สั่ง D:\>DIR C: D:\>COPY C:ex???.txt D:SUB1\SUB11 สั่ง D:\>DIR SUB1\SUB11
(I) REN [NAME] [d1:] [path] filename1[.ext] filename2 [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 9. REN เป็นคำสั่งในการเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (ไฟล์ยังคงเก็บอยู่ที่เดิม) รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>REN SUB1\test1.txt new.txt สั่ง D:\>DIR SUB1 D:\>REN SUB1\SUB11\*.txt *.bat สั่ง D:\>DIR SUB1\SUB11 (I) REN [NAME] [d1:] [path] filename1[.ext] filename2 [.ext]
(I) DEL [d:] [path] filename [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 10. DEL เป็นคำสั่งในการลบแฟ้มข้อมูล DELย่อมาจาก DELete รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>DEL C:exam1.txt สั่ง D:\>DIR C: D:\>DEL SUB1\SUB11\?????.bat สั่ง D:\>DIR SUB1\SUB11 (I) DEL [d:] [path] filename [.ext]
(I) TYPE [d:] [path] filename [.ext] คำสั่ง DOS (ต่อ) 11. TYPE เป็นคำสั่งในการขอดูข้อมูลในไฟล์ รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>TYPE SUB1\new.txt (I) TYPE [d:] [path] filename [.ext]
คำสั่ง DOS (ต่อ) 12. DATE เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขวันที่ ตามรูปแบบ mm-dd-yy รูปแบบ 13. TIME เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขเวลา ตามรูปแบบ hh-mm[:ss[.xx]] (I) DATE (I) TIME
คำสั่ง DOS (ต่อ) 14. VER เป็นคำสั่งในการขอดูเวอร์ชันของ DOS ที่ใช้ รูปแบบ 15. VOL เป็นคำสั่งในการขอดูชื่อแผ่น (volume label) และหมายเลขประจำแผ่นข้อมูล (serial number) (I) VER (I) VOL [d:]
คำสั่ง DOS (ต่อ) 16. LABEL เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขชื่อแผ่น รูปแบบ ตัวอย่างเช่น D:\>LABEL พิมพ์ diligence (E) LABEL [d:] [path]
ตัวอย่างDOS จงทำการสร้างโครงสร้างต่อไปนี้
ตัวอย่างDOS (ต่อ) 1.ให้สร้างfileที่ชื่อTest ใน drive D โดยกำหนดให้มีข้อมูลเป็นดังนี้ LAB204105 คำสั่งที่ใช้ D:\>COPY CON test จบการป้อนข้อมูลด้วยการกด CTRL+Z แล้ว Enter
ตัวอย่างDOS (ต่อ) 2.สร้างdirectory XXX คำสั่งที่ใช้คือ D:\>MD XXX คำสั่งที่ใช้คือ D:\>CD XXX
ตัวอย่างDOS (ต่อ) 4.สร้างdirectory YYY คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX >MD YYY 5.ย้ายการทำงานเข้าสู่ directory YYY คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX >CD YYY
ตัวอย่างDOS (ต่อ) 6.สร้างdirectory ZZZ คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX\YYY>MD ZZZ 7.ย้ายการทำงานกลับไปยัง root directory คำสั่งที่ใช้คือ D:\ XXX\YYY>CD\
ตัวอย่างDOS (ต่อ) 8. สำเนาไฟล์ Test ไปไว้ใน directory YYY ใช้ชื่อ Test1 คำสั่งที่ใช้คือ D:\ >COPY Test XXX\YYY\Test1 9.แสดงโครงสร้างของ directory และ file ที่สร้างขี้นจากคำสั่ง DOS คำสั่งที่ใช้คือ D:\ >TREE /F