แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ยา จ2 ในผู้ป่วยที่มีปัญหา สถานะและสิทธิ
Advertisements

ฐานข้อมูลทะเบียนที่มีอยู่เดิม ทะเบียนที่ขึ้นต้นด้วยเลขต่อไปนี้ได้นำออกจากระบบไปแล้ว จะไม่สามารถส่งข้อมูล เบิกเครมได้ 00xxx xxxxx xxx = นำออกจากระบบ 1xxxxx.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
กองทุนประกันสังคมคือ...
การตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ ปี 2554 ตามมติ ครม. มี 2 งวด ได้แก่
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนกรณี
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ประสบการณ์และข้อเสนอแนะ แนวทางการเฝ้าระวังโรคและภัย สุขภาพด้านต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ วันที่ 13 มีนาคม 2557 การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค แห่งชาติประจำปี
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
ขอบข่ายของระบบ รองรับระบบงานของ บริษัทประกันภัย รองรับระบบงานของ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
กลุ่มที่ 4.
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปีงบประมาณ 2555
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ทะเบียนราษฎร.
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
บ้านและทะเบียนบ้าน.
ทะเบียนบ้าน.
การให้เลขประจำตัวประชาชน ๑๓ หลัก
ระบบลงทะเบียนบุคคลพิการขาขาด
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ความหมายของเลขประจำตัว
สิทธิสวัสดิการช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ สป.

ใครคือผู้มีสิทธิ ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553 ใครคือผู้มีสิทธิ ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553 1. กลุ่มที่คณะรัฐมนตรีรับรองสถานะให้อาศัยอยู่ถาวร ได้แก่ กลุ่มที่มีเลขขึ้นต้นในบัตรประจำตัวบุคคล เลข 3และ 4 ที่เข้า เมืองโดย ชอบ ได้สิทธิอาศัยถาวร (พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2552) ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.14 กลุ่มที่เลขขึ้นต้นในบัตรประจำตัวบุคคล เลข 5 และ 8 เป็นคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายมีสิทธิอาศัยถาวร ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.14 *ไม่ต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่

2. กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวเพื่อรอกระบวนการแก้ปัญหา 2.1 กลุ่มที่มีปัญหาการส่งกลับซึ่งได้รับการสำรวจทำทะเบียนประวัติและบัตรสี/บัตรประจำตัวผู้ไม่ใช่สัญชาติไทยเพื่อการควบคุมและอยู่ระหว่างการแก้ปัญหา (1) กลุ่มที่มีเลขขึ้นต้นในบัตรประจำตัวบุคคล เลข 6 เป็นคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายในลักษณะชั่วคราว (ม.12,13,34,35 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2552) และคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย (ม.17 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522) ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.13 (2) กลุ่มที่มีเลขขึ้นต้นในบัตรประจำตัวบุคคล เลข 7 เป็นบุตรคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายในลักษณะชั่วคราวที่เกิดในประเทศไทย (ม.12,13,34,35 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522) และบุตรคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายที่เกิดในประเทศไทย (ม.17 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522) ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร. 13

2.2 กลุ่มที่ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล เฉพาะกลุ่มต่อไปนี้ (1) กลุ่มนักเรียนในสถานศึกษาที่รับสวัสดิการจากรัฐบาลด้านการศึกษา มีเลขขึ้นต้นด้วย เลข 0 ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร. 38 ก (2) กลุ่มไร้รากเหง้า มีเลขขึ้นต้นใน บัตรประจำตัวบุคคล เลข 0 ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.38 ก (3) กลุ่มคนที่ทำประโยชน์ให้กับประเทศ มีเลขขึ้นต้นใน บัตรประจำตัวบุคคล เลข 0ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.38ก

เอกสารประกอบในการขอใช้สิทธิจะต้องมีแบบ 89 ด้วย จะต้องเป็นกลุ่มบุคคลที่มีเลขประจำตัวบุคคลดังนี้ O-XXXX-89XXX-XX-X เช่น 0-5709-89090-39-1 เอกสารประกอบในการขอใช้สิทธิจะต้องมีแบบ 89 ด้วย

บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ปี 2555 จังหวัด เลข 3 เลข 4 เลข 5 เลข 8 เลข 6 เลข 7 เลข 0 (89) อื่นๆ ภาพรวม 6,813 36 756 15,342 223,785 67,353 132,313 12,574 3,002

แนวทางการลงทะเบียนและการตรวจสอบสิทธิ ปีงบประมาณ2555 สำหรับผู้ที่มีการขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2554 (ขึ้นทะเบียนถูกต้อง ณ วันที่ 30 กันยายน 2554) ระบบได้ปรับปรุงฐานข้อมูลมาเป็นปีงบประมาณ 2555 (1 ตุลาคม 2554) ทั้งหมดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว หากต้องการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลสามารถส่งเอกสารกลับมาที่ กลุ่มประกันสุขภาพ ทาง Email : hisstate@gmail.com ในกรณีต่อไปนี้ ตาย, ย้ายที่อยู่, ย้ายทะเบียนบ้าน, เปลี่ยนสิทธิ

แนวทางการใช้บริการของกลุ่มเป้าหมาย ใช้บริการ ณ หน่วยบริการที่ลงทะเบียนไว้ (ตามทะเบียนบ้าน) กรณีอุบัติเหตุ/เจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลข้ามเขตภายในจังหวัดหรือข้ามจังหวัด ณ หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในกรณีข้ามเขตจังหวัดต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ของกรมการปกครอง (กรณีประสบภัยจากรถสามารถใช้สิทธิต่อเนื่องจากค่าเสียหายเบื้องต้นที่กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถหรือบริษัทประกันภัยเป็นผู้จ่าย) ในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ทั้ง 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลราชวิถี และ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

ระบบการส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อผู้ป่วย ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนระบบการส่งต่อของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กรณีต้องส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาในเขตกรุงเทพมหานครต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลที่ทำการรักษาขั้นต้น โดยให้ส่งต่อไปยังโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ 3แห่ง ยกเว้นกรณีที่โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง ไม่สามารถรับการส่งต่อได้ สามารถทำใบส่งตัวไปรักษายังโรงพยาบาลอื่นได้ตามความเหมาะสม (ยกเว้น โรงพยาบาลเอกชน)

การเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ การขอเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์จากกองทุนกลาง ให้เบิกได้ในกรณีต่อไปนี้ 1.บริการผู้ป่วยในทั่วไป (IP Normal) 2.บริการผู้ป่วยในส่งต่อ (IP Refer) 3.บริการผู้ป่วยในที่มีค่าใช้จ่ายสูง (IP HC) 4.บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE) ที่มีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ 5.กรณีผู้ป่วยนอกที่มีค่าใช้จ่ายสูง (OP HC) 6.กรณีผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OP AE) ที่มีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ 7.กรณีการใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ในการบำบัดโรค (Instrument: INST) 8.กรณีตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการทำหัตถการหัวใจ ของผู้ป่วยนอกที่เป็นบริการ แบบ Ambulatory care กรณีผู้ป่วยโรคไตวาย ผู้ป่วยติดเชื้อเอช ไอ วี ผู้ป่วยเอดส์ ผู้ป่วยวัณโรค และผู้ป่วยต้องใช้ยา จ.2 ให้ส่งเบิกที่ สปสช.