Sound card (การ์ดเสียง) เสียงเป็นส่วนสำคัญในระบบมัลติมีเดียไม่น้อยกว่าภาพดังนั้นการ์ดเสียงจึงเป็นอุปกรณ์จำเป็นที่สำคัญของระบบคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของเสียงมี2ประการคือ การ์ดเสียงได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างรวดเร็วเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพของเสียงและความผิดเพี้ยนน้อยที่สุดตลอดจนมีระบบเสียงสามมิติอย่างในปัจจุบัน ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของเสียงมี2ประการคือ อัตราการสุ่มตัวอย่าง ความแม่นยำของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนดโดยความสามารถของ A/D converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับค่าสัญญาณเสียงมากที่สุด
ความละเอียดของ A/D converter นั้นถูกกำหนด โดยจำนวน บิต(bit)ของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต (Digital Output) เช่น - A/D converter 8 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ - A/D converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536ระดับ หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือประสิทธิภาพของเสียงที่ได้รับดีขึ้นนั่นเองแต่จำนวน bit ต่อหนึ่งตัวอย่างจะเพิ่มขึ้นด้วย
Display card (การ์ดแสดงผล) หลักการทำงานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้นเมื่อโปรมแกรมต่างๆส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ CPU เมื่อCPUประมวลผลเสร็จแล้วก็จะส่งข้อมูลที่จะนำมาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้นการ์ดแสดงผลก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพตามข้อมูลที่ได้รับมา
การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆที่ออกมาส่วนใหญ่ก็จะมีแผงวงจรในการเร่งความเร็วการแสดงภาพสามมิติและมีหน่วยความจำมาให้มากพอ สมควร หน่วยความจำ การ์ดแสดงผลจะต้องมีหน่วยความจำที่เพียงพอในการใช้งานเพื่อสำหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับจาก CPU และสำหรับการ์ดแสดงผลบางรุ่นก็สามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด โดยทำหน้าที่ในการประมวลผลภาพแทน CPU เลยซึ่งทำให้ ซีพียูทำงานได้เร็วขึ้น เมื่อได้รับข้อมูลจาก ซีพียูมา การ์ดแสดงผลจะเก็บข้อมูลที่ไดรับมาไว้ในหน่วยความจำส่วนนี้เอง ถ้าการ์ดแสดงผลมีหน่วยความจำมากๆก็จะรับข้อมูล จากซีพียูได้มากช่วยให้การแสดงผลเร็วขึ้น
ความละเอียดในการแสดงผล การ์ดแสดงผลที่ดีจะต้องมีความสามารถในการแสดงผลในควาละเอียดสูงๆ ได้เป็นอย่างดี ความละเอียดในการแสดงผลหรือ Resolutions ก็คือจำนวนของจุด หรือ พิเซล (Pixel) ที่การ์ดสามารถนำไปแสดงบนจอภาพได้ จำนวนจุดยิ่งมากก็ทำให้ภาพที่ได้ มีความคมชัดขึ้น ส่วนความละเอียดของสีก็คือ ความสามารถในการแสดงสี ได้ในหนึ่งจุด จุดที่พูดถึงนี้ก็คือ จุดที่ใช้ในการแสดงผล ในหน้าจอ เช่น โหมดความละเอียด 640x480 พิกเซล ก็จะมีจุดเรียงตามแนวนอน 640 จุด และจุดเรียงตามแนวตั้ง 480 จุด
โหมดความละเอียดที่เป็นมาตราฐานในการใช้งานปกติก็คือ 640x480แต่การ์ดแสดงผลส่วนใหญ่ สามารถที่จะแสดงผลได้หลายๆ โหมด เช่น 800x600, 1024x768 และการ์ดที่มีประสิทธิภาพสูงก็จะสามารถแสดงผลในความละเอียด 1280x1024 ส่วนความละเอียดสีก็มี 16 สี, 256 สี, 65,535 สี และ 16 ล้านสีหรือ มักจะเรียกกันว่า True color
อัตราการรีเฟรช หน้าจอการ์ด แสดงผลที่มีประสิทธิภาพ จะต้องมีอัตราการรีเฟรช หน้าจอได้หลายๆ อัตรา อัตราการรีเฟรช ก็คือ จำนวนครั้งในการกวาดหน้าจอ ใหม่ในหนึ่งวินาที ถ้าหากว่าอัตรารีเฟรช ต่ำ จะทำให้ภาพบนหน้าจอ มีการกระพริบ ทำให้ผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์เกิดอาการล้า ของกล้ามเนื้อตา และอาจทำให้เกิดอันตราย กับดวงตาได้ อัตราการรีเฟรชในปัจจุบันอยู่ที่ 72 เฮิรตซ์ ถ้าใช้จอภาพขนาดใหญ่ อัตรารีเฟรช ยิ่งต้องเพิ่มมากขึ้น อัตรารีเฟรช ยิ่งมากก็ยิ่งดี
สามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.rallycoms.net
Ram Forget from along to-standing partnership between two companies Committed to innovation the G5 drives the largest performance again in history of the power PC .The 64 –bit G5 speeds up to 2 GHz and can address 8 GB main memory
Shatters the 4GB ceiling 32-bit PCs can only use 4GB of memory Shatters the 4GB ceiling 32-bit PCs can only use 4GB of memory. Any more than that requires the use of virtual memory on the hard drive, which is 40 times slower than using RAM The new Power Mac G5 can offer up to 8GB of RAM thanks to the 64-bit G5. So you can store entire 3D worlds, huge scientific data sets and oversized 2D images all in main memory, which lets you manipulate them faster.
To repeat: 40 times faster To repeat: 40 times faster. Theoretically, the 64-bit data paths let the Power PC G5 access up to 4 terabytes of physical memory. Impractical now, maybe, but the Power PC G5 architecture allows for plenty of growth well into the future.
www.apple.com/G5processor The end