บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

อัลกอริทึม ITS101 2/2011.
โปรแกรมการคำนวณค่า sin รายชื่อผู้เสนอโครงงาน
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การเขียนผังงาน.
ตัวอย่าง Flowchart.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
กระบวนการเขียนโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
2.3 ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
Nested loop.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง

การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดรายละเอียดของ ปัญหาให้ชัดเจน ซึ่งได้แก่ ข้อมูลนำเข้า การประมวลผล ข้อมูลนำออก

การวิเคราะห์ปัญหา ข้อมูลนำเข้า (input data) คือ ข้อมูลที่สามารถนำมาใช้ แก้ปัญหา อาจเป็นข้อมูลที่กำหนดให้หรือข้อมูลที่รับเข้ามา การประมวลผล (data processing) คือ ลำดับ ขั้นตอนของกระบวนความการทำงาน ข้อมูลนำออก (output data) คือ ข้อมูลซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่ ได้จากการแก้ปัญหา

ตัวอย่าง ปัญหาการคำนวณจำนวนแปลงปลูกผัก มาริโอมีพื้นที่ปลูกกะหล่ำปลีขนาดกว้าง 30 เมตร ยาว 65 เมตร โดย ขุดร่องน้ำให้กว้าง 1.5 เมตร รอบแปลงปลูกผัก ดังรูป 1.5 ม. 1.5 ม. จงหาว่ามาริโอมีพื้นที่ที่ใช้ปลูกกะหล่ำปลีกี่ตารางเมตร

การวิเคราะห์ปัญหา ข้อมูลนำเข้า : ความกว้างและความยาวของพื้นที่ทั้งหมด ความกว้างและความยาวของร่องน้ำ การประมวลผล : พื้นที่ที่ใช้ปลูกกะหล่ำปลี = พื้นที่ทั้งหมด – พื้นที่ร่องน้ำ ข้อมูลนำออก : พื้นที่ที่ใช้ปลูกกะหล่ำปลี

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เครื่องมือที่นิยมใช้ออกแบบโปรแกรม คือ ผังงาน (flow chart) การลงรหัสโปรแกรม/การเขียนโปรแกรม การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม การทำเอกสารประกอบโปรแกรม

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน ตัวอย่าง เริ่มต้น จบ

พื้นที่สี่เหลี่ยม = กว้าง X ยาว สัญลักษณ์การกำหนดค่า การคำนวณและการประมวลผล ตัวอย่าง พื้นที่สี่เหลี่ยม = กว้าง X ยาว

นำเข้า ความกว้าง,ความยาว สัญลักษณ์การนำเข้าข้อมูล และนำออกข้อมูล ตัวอย่าง นำเข้า ความกว้าง,ความยาว

การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหาพื้นที่ที่ใช้ปลูกกะหล่ำปลี เริ่มต้น นำเข้า ความกว้าง,ความยาวของพื้นที่ทั้งหมดและร่องน้ำ หาพื้นที่ทั้งหมด=กว้างxยาว หาพื้นที่ร่องน้ำ=กว้างxยาว พื้นที่ที่ใช้ปลูกกะหล่ำปลี = พื้นที่ทั้งหมด – พื้นที่ร่องน้ำ นำออกพื้นที่ปลูกผัก จบ

ลักษณะโปรแกรมที่ดี ได้ผลลัพธ์ถูกต้องตามความต้องการ ตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบข้อมูลได้ง่าย มีรูปแบบของโปรแกรมที่ทำความเข้าใจได้ง่าย ง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไขในอนาคต

กฎเกณฑ์ของโปรแกรมโครงสร้าง โปรแกรมโครงสร้าง มีรูปแบบลำดับขั้นตอนการทำงานพื้นฐาน 3 รูปแบบ คือ แบบลำดับ แบบเลือก แบบทำซ้ำ รูปแบบของโครงสร้างหนึ่งจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างภายในของอีก รูปแบบหนึ่ง เรียกว่า การซ้อนใน (nest) รูปแบบโครงสร้างหนึ่งจะมีทางเข้าทางเดียวและออกทางเดียว

ให้ลอกโจทย์และทำลงสมุด (ส่งในคาบ) กิจกรรมที่ 7.1 กิจกรรมที่ 7.2 กิจกรรมที่ 7.3 แบบฝึกหัดบทที่ 7 (ทำเฉพาะข้อ 1)