ADSL คืออะไร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Advertisements

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
(Telephone Billing System)
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
Accessing the Internet
EDGE GPRS.
3G น่าสนใจอย่างไร จากการที่ 3G สามารถรับส่ง ข้อมูลในความเร็วสูง ทำให้การ ติดต่อสื่อสารเป็นไปได้ อย่าง รวดเร็ว และ มีรูปแบบใหม่ๆ มากขึ้น ประกอบกับอุปกรณ์
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
Multiplexing and Network Multiplexing
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
Wireless Local Loop (WLL)
( Code Division Multiple Access)
ISDN (Integrated Services Digital Network)
TelecommunicationAndNetworks
( wavelength division mux)
DSL : Digital Subscriber Line
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
Data Transferring.
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
What’s P2P.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
TOT e-Conference คืออะไร?
บริการ TOT Leased Line Internet
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ข้อมูลพื้นฐานของระบบ Internet Intranet Extranet
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
Introduction to Network
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
บทที่ 8 การมัลติเพล็กซ์สัญญาณ
สมาชิก กลุ่ม 1. นางสาวพรพิรุณ ประจงค์ เลขที่ นางสาววราภรณ์ สี หนาจ เลขที่ นางสาวสุนิสา อบ มาลี เลขที่ 68.
วัตถุประสงค์ อธิบายหลักการส่งข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรมได้
Fring.
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
3G โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Internet Service Privider
ชื่อกลุ่ม เด็กผู้หญิง จัดทำโดย นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว พัชราพร พวงอินใจ ม เลขที่ 23.
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Multiplexing Techniques 1. Frequency-division multiplexing 2. Time-division multiplexing.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ADSL คืออะไร

ADSL ย่อมาจากคำว่า Asmmetric Digital Subscriber Line คือเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงแบบดิจิตอลที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถติดต่อสื่อสารอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกลได้ด้วยความเร็วสูง โดยใช้คู่สายโทรศัพท์ธรรมดา เทคโนโลยี ADSL แยกความถี่ออกเป็นสองช่องสัญญาณ สำหรับโทรศัพท์ (VOICE) และสำหรับการรับส่งข้อมูล (DATA) จึงทำให้สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กับใช้งานโทรศัพท์

อัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลบนADSL ADSL ที่ว่าทำงานเร็ว นั้นเร็วเท่าใดกันแน่ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจก่อนว่า ADSL มีอัตราความเร็วขึ้นอยู่กับชนิด ดังนี้ • Full-Rate ADSL เป็น ADSL ที่มีศักยภาพในการส่งถ่ายข้อมูลข่าวสาร ที่ความเร็ว 8 เมกกะบิต ต่อวินาที • G.Lite ADSL เป็น ADSL ที่สามารถส่งถ่ายข้อมูลข่าวสารได้สูงถึง 1.5 เมกกะบิตต่อวินาที ขณะที่กำลัง Download ความเร็วขนาดนี้ คิดเป็น 25 เท่าเมื่อเทียบกับการใช้ Modem แบบ Analog ขนาด 56K และคิดเป็น 50 เท่าเมื่อเทียบกับการใช้ Modem ความเร็ว 28.8K

ขีดความสามารถของ ADSL เทคโนโลยีของ ADSL เป็นแบบ Asymmetric มันจะให้ Bandwidth การทำงานที่ Downstream จากผู้ให้บริการ ADSL ไปยังผู้รับบริการสูงกว่า Upstream ซึ่งเป็นการส่งข้อมูลจากผู้ใช้บริการหรือลูกค้า ไปยังผู้ให้บริการ(ดังรูปที่ 1 และ 2)

รูปที่ 1 แสดงความเร็วในการถ่ายเทข้อมูลแบบUpstream/Downstream

รูปที่ 2 แสดงเปรียบเทียบความเร็วของระบบ

วงจรของ ADSL จะเชื่อมต่อ ADSL Modem ที่ทั้งสองด้านของสายโทรศัพท์ ทำให้มีการสร้างช่องทางของข้อมูลข่าวสารถึง 3 ช่องทาง ได้แก่ • ช่องสัญญาณ Downstream ที่มีความเร็วสูง • ช่องสัญญาณ ความเร็วปานกลางแบบ Duplex (ส่งได้ทางเดียว) • ช่องสัญญาณที่ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน ช่องสัญญาณ Downstream ความเร็วสูง มีความเร็วระหว่าง 1.5-6.1 Mbps ส่วนอัตราความเร็วของช่องสัญญาณแบบ Duplex อยู่ที่ 16-640 Kbps นอกจากนี้ ในแต่ละช่องสัญญาณยังสามารถแบ่งออกเป็นช่องสัญญาณย่อยๆ ที่มีความเร็วต่ำ ที่เรียกว่า Sub-Multiplex ได้อีกหลายช่อง ADSL Modem สามารถให้อัตราความเร็วการส่งถ่ายข้อมูลมาตรฐานเทียบเท่า North American T1 1.544 Mbps และ European E1 2.048 Mbps โดยผู้ใช้บริการสามารถเลือกซื้อบริการความเร็วได้หลายระดับ

ระยะทางและอัตราความเร็วของ ADSL ระยะทางมีผลต่ออัตราความเร็วในการให้บริการของ ADSL เป็นอย่างมาก โดยมีปัจจัยหลายประการ เช่น ขนาดความยาวสาย ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นลวด อุปกรณ์ Bridge Taps รวมไปถึงการกวนกันของอุปกรณ์ Cross-Coupled ที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจาก ความเสื่อมถอย (Attenuation) ของสัญญาณเกิดขึ้น เมื่อความยาวของสายทองแดงมีมากขึ้น รวมทั้งความถี่ ซึ่งค่านี้จะลดลงเมื่อเพิ่มขนาดของสาย

การทำงานของ ADSL หลักการทำงานของ ADSL ไม่มีอะไรมาก เนื่องจากว่า สายโทรศัพท์ที่ทำจากลวดทองแดง มี Bandwidth สูงคิดเป็น หลายๆ MHz ดังนั้น จึงมีการแบ่งย่านความถี่นี้ออกเป็นส่วน เพื่อใช้งานโดยวิธีการแบบที่เรียกว่า FDM (Frequency Division Multiplexing) ซึ่งเป็นเทคนิคการแบ่งช่องสัญญาณออกเป็นหลายๆช่อง โดยที่แต่ละช่องสัญญาณจะมีความถี่ที่แตกต่างกัน ดังนั้น จะได้ Bandwidth ต่างๆ ดังนี้

• ย่านความถี่ขนาดไม่เกิน 4 KHz ปกติจะถูกนำมาใช้เป็น Voice กับ FAX • ย่านความถี่ที่สูงกว่านี้ จะถูกสำรองจองไว้ให้การรับส่งข้อมูล โดยเฉพาะ ซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น หลายย่านความถี่ เช่น ช่องสัญญาณสำหรับ การรับข้อมูลแบบ Downstream ตัวอย่าง เช่นการ Download ข้อมูล ส่วนช่องสัญญาณอื่นมีไว้สำหรับการส่งข้อมูลที่มีความเร็วต่ำกว่า Downstream ซึ่งเรียกว่า Upstream หรือสำหรับการ Upload ข้อมูล เป็นต้น

ภาพแสดงการแบ่งย่านความถี่ของ ADSL

ประโยชน์จากการใช้บริการ ADSL >> สามารถสนทนาโทรศัพท์ หรือใช้แฟกส์พร้อมกันกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยสายโทรศัพท์เส้นเดียวกันโดยไม่ติดขัด >> เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงสุดกว่า 140 เท่าเมื่อเทียบกับการใช้ Modem แบบ Analog ธรรมดา (ที่ 8 Mbps.) >> การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา (Always On) ที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากการส่งถ่ายข้อมูลถูกแยกออกจากการใช้งานของ โทรศัพท์หรือ FAX ดังนั้นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจึงไม่ถูกติดขัด

ประโยชน์จากการใช้บริการ ADSL(ต่อ) >> ไม่มีปัญหาเนื่องสายไม่ว่าง ไม่ต้อง Log On หรือ Log off ให้ยุ่งยากอีกต่อไป >> ไม่เปลืองค่าโทรศัพท์ ไม่มีค่าใช้จ่ายต่อการโทร เพราะไม่ต้องหมุนโทรศัพท์เวลาเชื่อมต่อ >> ประหยัด และควบคุมค่าใช้จ่ายได้ ด้วยค่าบริการแบบเหมาจ่ายรายเดือน ไม่จำกัดชั่วโมงการใช้งาน >> สัญญาณ ADSL ถูกติดตั้งจากชุมสายของผู้ให้บริการถึงบ้านผู้ใช้งาน ไม่มีการต่อพ่วงกับใคร จึงมีความน่าเชื่อถือ และมีความปลอดภัยสูง

แหล่งอ้างอิง http://www.bcoms.net/adsl/asp http://www.thaiadmin.org/board/index.php?topic=5492.0 http://support.loxinfo.co.th/tutorial.asp?-adsl/beginner http://www.polygonhouse.com/main/index.php?option=com_content&view=article&id

จัดทำโดย >> นางสาวรัชนีพร สารเหล่าโพธิ์ เลขที่ 6 ชั้นปีที่ 1 ห้อง ข >> นางสาวลลิสา ก่อปฐมกุล เลขที่ 10 ชั้นปีที่ 1 ห้อง ข >> นางสาวสุพรรษา กงแก้ว เลขที่ 42 ชั้นปีที่1 ห้อง ข

“สวัสดีค่ะ”