ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันให้เกิดความสำเร็จของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายดังนี้ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดโครงการพระราชดำริและเฉลิมพระเกียรติ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ไข้เลือดออก.
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการดำเนินงาน Pap Smear (1 ต. ค.52 – 31 ก. ค.57) อำเภอเป้าหมายผลงานอัตรา ( ร้อย ละ ) เมือง 29,050 21, เขาย้อย 8,9556, หนองหญ้า ปล้อง 3,2872,
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก - มีคณะกรรมการการดำเนินงาน MCH Board ระดับอำเภอ - มีแผนการดำเนินงาน - มีการดำเนินงานตามแผน มีการสรุปผลการดำเนินงาน มีแผนพัฒนาในปีต่อไป

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก 2.การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 1.ตำบลทุ่งแต้ ผ่านการประเมินตำบลจากเขต และได้ประทานโล่ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว จากพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556 ที่โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ กรุงเทพมหานคร 2.ตำบลขั้นไดใหญ่ผ่านการประเมิน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับจังหวัด เดือนเมษายน 2557

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก 2.การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว สถานบริการ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 57 ปี 56 เป้าหมาย ผล งาน คิดเป็น ร้อยละ ทุ่งแต้ 37 30 81.08 66 คำฮี 42 34 80.95 62 สถานบริการ เด็ก 0-5 ปีทั้งหมด จำนวน ที่ได้รับการประเมิน พัฒนาการสมวัย พัฒนาการสมวัย คิดเป็นร้อยละ ทุ่งแต้ 303 256 254 99.21 คำฮี 310 279 278 99.64 สถานบริการ จำนวนศูนย์เด็กเล็ก ผ่านเกณฑ์คุณภาพ คิดเป็นร้อยละ ทุ่งแต้ 3 100 คำฮี 5

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 1.ชุมชนมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 2.ชุมชนมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 3.ชุมชนมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 4.ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และพัฒนาการเด็ก สถานบริการ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป้าหมาย ผลงาน คิดเป็น ร้อยละ ทุ่งแต้ 37 30 81.08 คำฮี 42 34 80.95

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 4.ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และพัฒนาการเด็ก สถานบริการ เด็ก 0-5 ปีทั้งหมด จำนวน ที่ได้รับการประเมิน พัฒนาการสมวัย พัฒนาการสมวัย คิดเป็นร้อยละ ทุ่งแต้ 303 256 254 99.21 คำฮี 310 279 278 99.64

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 4.ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และพัฒนาการเด็ก สถานบริการ หญิงตั้งครรภ์ที่ยังไม่คลอด หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครั้งแรก ฝากครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์ คิดเป็น ร้อยละ ทุ่งแต้ 3 100 คำฮี 8

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 5.ชุมชนมีมาตรการทางสังคมเพื่อการ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และพัฒนาการเด็ก “ ห้ามจำหน่ายนมผง ต่ำกว่า 6 เดือน ในตำบลทุ่งแต้” “ตำบลทุ่งแต้ ชุมชนรักการอ่าน” “ เด็กขั้นไดใหญ่กินนมแม่ พัฒนาการดี มีความพร้อมเพื่อเติบโตเป็นคนดี ของชุมชน”

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 6.อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพิ่มเป็นร้อยละ 60 และพัฒนาการเด็กร้อยละ 90 อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพิ่มเป็นร้อยละ 60 รพ.สต.คำฮี อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป้าหมาย 42 คน ผลงาน 34 คน (ร้อยละ 80.95) ผ่าน รพ.สต.ทุ่งแต้ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป้าหมาย 37 คน ผลงาน 30 คน (ร้อยละ 81.08)

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 6.อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพิ่มเป็นร้อยละ 60 และพัฒนาการเด็กร้อยละ 60 พัฒนาการเด็ก ร้อยละ 90 รพ.สต.คำฮี มีพัฒนาการเด็ก เป้าหมาย 279 คน ผลงาน 278 คน (ร้อยละ 99.64) ผ่าน รพ.สต.ทุ่งแต้ มีพัฒนาการเด็ก เป้าหมาย 256 คน ผลงาน 254 คน (ร้อยละ 99.21)

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว มีคณะกรรมการ คณะทำงาน 7.มีกรรมการ/คณะทำงานในการดำเนินงานของตำบล/มีกองทุนจัดกิจกรรมและช่วยเหลือ มีคณะกรรมการ คณะทำงาน

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 7.มีการจัดกิจกรรมอบรม ให้ความรู้ เรื่องนมแม่

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 7.มีกรรมการ/คณะทำงานในการดำเนินงานของตำบล/มีกองทุนจัดกิจกรรมและช่วยเหลือ มีกองทุนจัดกิจกรรมและช่วยเหลือ มีกองทุนตำบลนมแม่ ได้รับงบประมาณ จาก กองทุนแม่ของแผ่นดิน หมู่บ้านละ 500 บาท จำนวน 10 หมู่บ้าน เป็นเงิน 5,000 บาท

การดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 6.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผ่านเกณฑ์ประเมินศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ขั้นไดใหญ่ 91.30 % ทุ่งแต้ 91.50 %

หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ แยกรายอำเภอ ลำดับที่ 1

ผ่าน เป้าหมาย 116 คน ผลงาน116 คน(ร้อยละ 100) ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เป้าหมาย 116 คน ผลงาน116 คน(ร้อยละ 100) ผ่าน

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ แยกรายสถานบริการ

หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ ๕ ครั้งคุณภาพ แยกรายอำเภอ ลำดับที่ 1

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ5 ครั้งคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เป้าหมาย 648 คน ผลงาน 572 คน(ร้อยละ 88.27) ผ่าน

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง คุณภาพ แยกรายสถานบริการ

เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย แยกรายอำเภอ ลำดับที่ 1

ผ่าน เป้าหมาย 6,668 คน ผลงาน 6,653 คน(ร้อยละ 99.78) ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เป้าหมาย 6,668 คน ผลงาน 6,653 คน(ร้อยละ 99.78) ผ่าน

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 เป้าหมาย 873 คน ผลงาน 570 คน(ร้อยละ 65.29) ผ่าน

ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

ความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาวัยเรียนและวัยรุ่น โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ผลการประเมิน ปี 2556 ระดับเพชร 3 โรง = 3.48% ระดับทอง 65 โรง = 75.58% ระดับเงิน 15 โรง = 17.44 % ระดับทองแดง 6 โรง = 6.97% ไม่ผ่านการประเมิน 5 โรง = 5.81% รวม 86 โรงเรียน โรงเรียนยโสธรพิทยาสรรค์ผ่านการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร ระดับเขต กรมอนามัย

ความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาวัยเรียนและวัยรุ่น ร้อยละอำเภอที่ผ่านการประเมินมาตรฐาน อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ 1.มีคำสั่งคณะกรรมการอนามัยเจริญพันธุ์ 2.บุคลากรผ่านการอบรม 3.โรงพยาบาลยโสธรผ่านการรับรองโรงพยาบาลที่จัดบริการเป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 4.มีการส่งต่อข้อมูลระหว่างรพ.สต. และโรงพยาบาลยโสธร 5.มีกิจกรรมดำเนินการในโรงเรียน ชุมชน ระดับความสำเร็จ ขั้นตอนที่ 4

ผ่าน เป้าหมาย 64 ศูนย์ ผลงาน 62 ศูนย์ (ร้อยละ 96.87) ความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองน่าอยู่ ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์ เด็กเล็กคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผ่าน เป้าหมาย 64 ศูนย์ ผลงาน 62 ศูนย์ (ร้อยละ 96.87)