รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“Weather is one of the most important factor that influence
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
ปริศนาภูมิศาสตร์ไทย ชุดที่1 โดยครูแป้น ส. ภ. ตรัง spa. ac
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ตำรวจภูธรจังหวัดระนอง
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
วาตภัย.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
น้ำและมหาสมุทร.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
สถานการณ์น้ำในเขื่อน กฟผ.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
คาดหมายลักษณะอากาศ จรูญ เลาหเลิศชัย.
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานสรุปสถานการณ์น้ำ ประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2557
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
พลังงานลม.
ร้อยละ 50 มค. – 31 กค. 54 ช่วง ต่อเนื่อ ง (4,5 00) ร้อยละ 50 (4,5 00) เฉลี่ยจังหวัดละ ราย รายสุดท้าย แล้วเสร็จ 31 กค. 54 เป้าหมายบริการราก ฟันเทียม.
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
การพัฒนาพื้นที่ชลประทาน (จำแนกรายภาค)
ภาคใต้.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
การใช้ Internet เพื่อการคาดหมายและ ติดตามสถานการณ์น้ำฝน น้ำท่า นายชัชชม ชมประดิษฐ์ ศูนย์เฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหา น้ำท่วมปี 2546.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา 16. 00 น. www รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา 16.00 น. www.thaiwater.net/hourlyreport และ www.nhc.in.th

สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน กลุ่มเมฆฝน มีกลุ่มเมฆฝนปกคลุมหนาแน่นบริเวณด้านตะวันตกของประเทศ และภาคใต้ ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกเกือบทุกภูมิภาคของประเทศ โดยมีปริมาณฝนสะสมหนาแน่นบริเวณภาคใต้ตอนล่าง ในจังหวัดยะลา และสงขลา ระดับน้ำในแม่น้ำสำคัญ ระดับน้ำโดยส่วนใหญ่มีแนวโน้มคงที่ ยกเว้น บริเวณที่มีฝนตกจะมีระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น ทำให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำตามธรรมชาติ ได้แก่ ลำน้ำห้วยหลวง อ.เมือง จ.อุดรธานี ลำปลายมาศ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา และแม่น้ำมูล อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ณ วันที่ 2 ต.ค.57 ภาพรวมปริมาณน้ำในเขื่อนทั้งประเทศอยู่ในเกณฑ์พอใช้ โดยเขื่อนที่มีปริมาณน้ำมากกว่า 80% ได้แก่ เขื่อนสิรินธร (95%) เขื่อนน้ำอูน (83%) เขื่อนขุนด่านปราการชล (88%) และเขื่อนประแสร์ (87%) ส่วนเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนเพิ่มมากขึ้น แต่ยังคงมีน้ำอยู่ในเกณฑ์น้ำพอใช้ 41% และ 58% และน้ำใช้การเหลืออยู่เพียง 13% และ 28% ตามลำดับ

การคาดการณ์ฝน คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ 2-4 ต.ค. 57 ในวันที่ 2-3 ต.ค.ร่องมรสุมยังคงพาดผ่านภาคกลาง และ ภาคตะวันออก ทำให้ทุกภูมิภาคของประเทศมีฝน ตกกระจายกับมีฝนตกหนาแน่นบริเวณด้าน ตะวันตกของประเทศ กับภาคใต้ และในวันที่ 4 ต.ค. ร่องมรสุมที่เลื่อนลงมาพาดผ่านภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มีกำลังแรงขึ้น ทำ ให้บริเวณดังกล่าวมีฝนตกชุกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ พื้นที่ในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี สงขลา และยะลา จะมีฝนตกหนัก คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ 5-8 ต.ค. 57 ร่องมรสุม ยังคงพาดผ่านภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ ตามลำดับ ขณะที่ลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้และอ่าวไทย จะมีกำลังแรงขึ้นในช่วงวันที่ 6-7 ต.ค.ประกอบกับ มีหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงพัดปกคลุม บริเวณอ่าวไทย ทำให้บริเวณดังกล่าว โดยเฉพาะภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป จะมี ฝนตกสะสมต่อเนื่อง กับฝนตกหนักบางแห่ง

เส้นทางพายุและภาพถ่ายจากดาวเทียม MTSAT-2 วันที่ 2 ต.ค. 57 เวลา 15.00 น. 4

ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงย้อนหลังสูงสุด วันที่ 2 ต.ค. 57 เวลา 16.00 น.

สถานการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำสายสำคัญ (2 ต.ค. 57) ระดับน้ำโดยส่วนใหญ่มีแนวโน้มคงที่ ยกเว้นบริเวณที่มีฝนตกจะมีระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น ทำให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำตามธรรมชาติ ได้แก่ ลำน้ำห้วยหลวง อ.เมือง จ.อุดรธานี ลำปลายมาศ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา แม่น้ำมูล อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์

ปริมาณน้ำกักเก็บในอ่างขนาดใหญ่ (2 ต.ค. 57)

การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม 2 ต.ค. 57 3 ต.ค. 57 4 ต.ค. 57

การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม 5 ต.ค. 57 6 ต.ค. 57 H 7 7 ต.ค. 57 8 ต.ค. 57 รายละเอียดเพิ่มเติม www.thaiwater.net 9

บริเวณชายฝั่ง อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์ บริเวณชายฝั่ง อ.เมือง จ.ชุมพร คาดการณ์ความสูงและทิศทางของคลื่นจากแบบจำลอง SWAN ช่วงวันที่ 1-7 ต.ค. 57 โดยสสนก. บริเวณชายฝั่ง อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์ บริเวณชายฝั่ง อ.เมือง จ.ชุมพร ที่มา:สสนก.

บริเวณทะเลอันดามัน บริเวณอ่าวไทย คาดการณ์ความสูงและทิศทางของคลื่นจากแบบจำลอง SWAN ช่วงวันที่ 7 ต.ค. 57 โดยสสนก. บริเวณทะเลอันดามัน บริเวณอ่าวไทย H 7 11

ภาคผนวก

แผนที่ความกดอากาศ วันที่ 12 ต.ค. 53 เวลา 01.00 น. วันที่ 2 ต.ค. 57 เวลา 7.00 น. ร่องมรสุมพาดผ่านภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรงพาดพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย

แผนภาพความสูงและทิศทางของคลื่นทะเล วันที่ 12 ต.ค. 2553 วันที่ 2 ต.ค. 2557

แผนภาพการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิผิวน้ำทะเล ระหว่างวันที่ 26 ก.ย.- 9 ต.ค.53 และวันที่ 12-25 ก.ย. 53 แผนภาพการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิผิวน้ำทะเล ระหว่างวันที่ 14-27 ก.ย. 57 และวันที่ 31 ส.ค.-13 ก.ย. 57

แผนภาพปริมาณฝนสะสม ระหว่างวันที่ 1-14 ต.ค. 53 แผนภาพปริมาณฝนสะสม ช่วงวันที่ 1-7 ต.ค. 53 แผนภาพปริมาณฝนสะสม ช่วงวันที่ 8-14 ต.ค. 53