8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน 8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน 1.) คุณภาพน้ำทางกายภาพ สี (Colour) , อุณหภูมิ (Temperature) , กลิ่น (Odor) ,- ความขุ่น ( Turbidity) , ความโปร่งแสง (Tranparency) 2.) คุณภาพน้ำทางเคมี ความเป็นกรด-ด่าง (pH) , ออกซิเจนในน้ำ (DO) , การนำไฟฟ้า (Conductivity) , บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand ) , ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand ) , ความกระด้าง , ไนโตรท และ ไนโตรท์,- ฟอสเฟต , Pesticide , โลหะหนัก 3.) คุณภาพน้ำทางชีวภาพ โปรตัวซัว) , แพลงก์ตอน , หนอนตัวกลม (Nematode) ,จุลินทรีย์ (Coliform Bacteria) , สัตว์น้ำและพืชน้ำที่มองเห็น ด้วยตาเปล่า
8.6 วิธีการศึกษา 1.) กำหนดปัญหาและเหตุของปัญหาและการตั้งชื่อเรื่องที่เหมาะสม….. ยึดหลักการ 5 ประการ ดังนี้ - ความรู้ทางวิชาการ - วัตถุประสงค์ - งบประมาณ - แรงงาน - เวลา 2.) กำหนดพื้นที่ที่ต้องการทดลองศึกษา - ยึดหลักการการไหลของน้ำที่เป็นของเหลวลงสู่ที่ต่ำ - ศึกษาในลักษณะพื้นที่ลุ่มน้ำเป็นหลัก - คำนึงถึง point sources / pathway / point effects
3 .) กำหนดและวางแผนการเก็บตัวอย่างตามหลักวิชาการพร้อม ดัชนีชี้วัด (index) - ระบุประเภทคุณภาพน้ำทางกายภาพ / เคมี / ชีวภาพ - ระบุตัวชี้วัดลงไปให้ครบถ้วน - ระบุจุดเก็บตัวอย่าง / ช่วงเวลาที่ศึกษา / กำหนดจำนวนครั้ง / จำนวนตัวอย่างที่ใช้ให้ชัดเจน 4.) วิธีการเก็บตัวอย่างน้ำภาคสนามให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ของแต่ละดัชนีที่ใช้…. ใช้ชนิดขวดตัวอย่างที่ถูกต้อง 5.) การเก็บรักษาตัวอย่างน้ำให้ถูกต้องในแต่ละดัชนีที่ใช้ศึกษา เช่น การใส่สารเคมีเพื่อรักษาตัวอย่างน้ำ การแช่เย็นในน้ำแข็งที่ 4 oC
5.) การวิเคราะห์ตัวอย่างในห้องปฏิบัติการ (sample analysis) … - ใช้วิธีการศึกษาที่เป็นที่รับรอง - ดำเนินการวิเคราะห์ในช่วงเวลาที่กำหนดให้แล้วเสร็จ - การวิเคราะห์ตัวอย่างที่ต่อเนื่องจนกว่าจะแล้วเสร็จ 6.) การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis) และการแปลความหมาย - ใช้วิธีการทางสถิติ - ใช้ค่ามาตรฐานในการแปลความหมาย - ใช้เปรียบเทียบกับสภาวะธรรมชาติ (มีพื้นที่ป่าไม้ปกคลุม) 7.) กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือ ทิศทางการพัฒนา - สรุปผลการศึกษาเป็นประเด็นให้ครบถ้วน - เสนอแนะวิธีการปรับปรุงงานวิจัยในอนาคตที่เป็นรูปธรรม ที่ชัดเจน
8.7 วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1.) อุณหภูมิ ………………………………. Thermometer 2.) ความเป็นกรดเป็นด่าง ……………... pH Meter 3.) ความนำไฟฟ้า ………………………... Conductivity Meter 4.) ปริมาณสารแขวนลอย(SS) ……..….. Filtering and Analytical Balance 5.) ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ….. DO Meter 6.) ความสกปรกในรูปของบีโอดี (BOD5)... Azide Modification of the Iodometry 7.) น้ำมัน/ไขมัน …………………. Soxhlet Extraction 8.) โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ………… Multiple Tube Fermentation Technique
8.8 ประเภทของแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 1 : แหล่งน้ำตามธรรมชาติโดยปราศน้ำทิ้งจาก กิจกรรมทุกประเภท 1.) ใช้อุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติก่อน 2.) ใช้ขยายพันธุ์ตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตระดับพื้นฐาน 3.) ใช้อนุรักษ์ระบบนิเวศของแหล่งน้ำ ประเภทที่ 2 : แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท 1.) ใช้อุปโภคบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติพร้อมการผ่านกระบวนการปรับปรุงน้ำโดยทั่วไปก่อน 2.) ใช้อนุรักษ์สัตว์น้ำ 3.) ใช้การประมง 4.) ใช้ว่ายน้ำและกีฬาทางน้ำ
ประเภทที่ 3 : แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท 1.) ใช้อุปโภคบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติพร้อมการผ่านกระบวนการปรับปรุงน้ำโดยทั่วไปก่อน 2.) ใช้การเกษตรกรรม ประเภทที่ 4 : แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท 2.) ใช้อุตสาหกรรม ประเภทที่ 5 : แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท 1.) ใช้คมนาคม