Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Arrays.
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
การรับค่าและแสดงผล.
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
Data Type part.III.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
ตัวอย่าง Flowchart.
Array.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Structure.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์ (Array).
Suphot Sawattiwong Lab IV: Array Suphot Sawattiwong
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
Midterm outline Object-oriented programming Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of phayao.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

226101 Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 9 แถวลำดับ

วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการสร้างแถวลำดับ เข้าใจประโยชน์ของการสร้างแถวลำดับ สามารถนำแถวลำดับไปใช้แก้ปัญหาได้

แถวลำดับ (Array) จงเขียนโปรแกรมรับข้อมูลนักเรียน 10 คน โดยรับค่า คำนำหน้า ชื่อ นามสกุล รหัส เกรดเฉลี่ย แล้วถ้าเปลี่ยนคำสั่งเป็น จงเขียนโปรแกรมรับข้อมูลนักเรียน 1000 คน โดยรับค่าดังโจทย์ข้างต้นจะใช้เวลาเขียนเสร็จนานแค่ไหน

แถวลำดับ (Array) ทำให้เกิดโครงสร้างข้อมูลประเภทแถวลำดับ เพื่อเรียกใช้งานตัวแปร เป็นลักษณะของแถวลำดับ ขึ้นกับพารามิเตอร์หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวชี้ลำดับ ตัวอย่างการประกาศตัวแปร ประเภทตัวอักษร(character) char name = 't'; char name = 'e'; ตัวอย่างการประกาศตัวแปร ประเภทชุดตัวอักษร(string) char name[10] = "name"; char major[10] = "ELECTRICAL"; char faculty[20] = "Engineering"; หมายเหตุ จะแสดงผลอย่างไรถ้า char major[10] = "Engineering ";

แถวลำดับ (Array) ตัวอย่างการประกาศตัวแปร ประเภทชุดตัวอักษร(string) char t[10] = "Test"; char t[10] char major[10] เลข 0 – 9 เราเรียกว่าตัวชี้ตำแหน่ง อาร์เรย์(index) t[0] t[1] t[2] t[3] t[4] t[5] t[6] t[7] t[8] t[9] T e s t E L E C ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) การประกาศตัวแปรและกำหนดค่าให้กับแถวลำดับ 1. ประกาศตัวแปรและกำหนดค่าไปด้วย รูปแบบ {data type} {variable name}[{array size}] = “value ”; กรณีเป็นตัวเลขใช้ รูปแบบ {data type} {variable name}[{array size}] = {1,2,3,…,n}; 2. ประกาศตัวแปรและกำหนดค่าทีหลัง รูปแบบ {data type} {variable name}[{ index of array at i }] ; {variable name} = ‘value at i’; รูปแบบ {data type} {variable name}[{index of array at i }] ; {variable name} = 1,2,3,…,n;

แถวลำดับ (Array) การประกาศตัวแปรและกำหนดค่าให้กับแถวลำดับ 1. ประกาศตัวแปรและกำหนดค่าไปด้วย เช่น char name[10] = "Test"; int digit[10] = {1,2,3,4,5,-1,-5,-3-,2,0}; int i[3] = {-1,0,1}; 2. ประกาศตัวแปรและกำหนดค่าทีหลัง เช่น char name[10] ; int i[3] ; i[0] = 1,i[1] = 1, i[2] = 3; ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) 2. ประกาศตัวแปรและกำหนดค่าทีหลัง เช่น char name[10] ; name[0] = 'T', name[1] = 'e', name[2] = 's', name[3] = 't'; int digit[5]; digit[0] = 1, digit[1] = 2, digit[2] = 3, digit[3] = 4, digit[4] = 5; int i[3]; i[2] = 1, i[0] = -1, i[1] = 0; ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) ตัวอย่างที่ 1 แสดงผลตัวอักษรในแนวตั้ง char faculty[50] = "School of Information and Communication Technology"; Int j; for (j=0; j<50; j++) { printf(" %c \n ",faculty[j] ); } ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) ตัวอย่างที่ 2 int i[5] = { 1,2,3,4,5 }; for (int j=0; j<5; j++) { printf(" i[%d] = %d \n ", j, i[j] ); // %d ตัวแรก คือ j และ %d ตัวที่สองคือแถวลำดับของ i ตัวที่ // นั่นคือ j(i[j]) } ICT, University of Phayao

ตัวอย่างที่ 4 รับค่าทีละค่า และแสดงผล int i[5] ; แถวลำดับ (Array) ตัวอย่างที่ 3 กำหนดค่าทีละค่า และแสดงผล int i[5] ; for ( int j=0; j<5; j++) i[j] = j; for ( j=0; j<5; j++) printf(" i[%d] = %d \n", j, i[j]); ตัวอย่างที่ 4 รับค่าทีละค่า และแสดงผล int i[5] ; for ( int j=0; j<5; j++) scanf(“%d”,&i[j]); for ( j=0; j<5; j++) printf(" i[%d] = %d \n", j, i[j]); ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) ตัวอย่างที่ 5 โปรแกรมรับคะแนน แสดงผลทีละค่าและสรุปค่าเฉลี่ย ถ้าเปลี่ยนเป็น sum/5 ? ICT, University of Phayao

ข้อควรระวังเรื่อง data type ไม่สามารถแสดงผลด้วย %f สำหรับ ตัวแปรประเภท int ตัวแปรประเภท int*float จะได้ float เสมอ(รวมไปถึง บวก ลบ หาร ) พึงระวัง ค่าน้อยหรือมากสุดของ data type นั้นๆ พึงระวังการใช้ float และ double (สังเกตค่าต่อไปนี้) interest ให้ผลที่แตกต่างกันอย่างไร ทำไมถึงได้ 79.449996948242188 ทำไมไม่ใช่ 79.450000000000000

แถวลำดับ (Array) การบ้าน ส่งก่อนวันอังคารที่ 28 มกราคม 17.00 น. ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) char major[10] = “ELEC"; int score[5] = {1,2,3,4,5}; จาก array ที่ผ่านมา เรียกว่าเป็น array 1 มิติ ซึ่งในการเขียนโปรแกรมจริงนั้น อาจมีการใช้งาน array ที่มากกว่า 1 มิติ เรียกอีกอย่างว่า Multidimensional arrays ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) array 2 มิติ การประกาศตัวแปร มี 2 วิธี คือ 1. ประกาศแบบไม่กำหนดค่า int i[5][10] ; 2. ประกาศแบบกำหนดค่า int i[2][2] = { {1,2} , {3,4} }; char data[2][100] = { {"Electricity Engineering"},{"School of Engineering"} }; ICT, University of Phayao

แถวลำดับ (Array) ตัวอย่าง array 2 มิติ

การประยุกต์ใช้แถวลำดับ จงเขียนโปรแกรมโดยมีเงื่อนไขต่อไปนี้ รับค่าตัวเลขทีละค่าแล้วเก็บค่าไว้ ถ้าตัวเลขมากกว่า 100 ให้แจ้งผู้ใช้พิมพ์ค่าใหม่เข้ามา รับค่าตัวเลขไปจนกว่าตัวเลขที่พิมพ์เข้ามาน้อยกว่า 0 หรือจำนวนตัวเลขที่เก็บไว้เกิน 5 ค่า ทำการเปรียบเทียบตัวเลขทั้ง 5 ค่าแล้วแสดงผลค่าน้อยไปมาก

การประยุกต์ใช้แถวลำดับ start i = 0; get number[i] i<5 n y number[i] > 100 n A y i = i+1; enter number 1 - 100 y

การประยุกต์ใช้แถวลำดับ A k = 0; n k < 5 y i = 0,j=0, max[k] = 0; i < 5 n y number[i] > max[k] max[k] = number[i]; j = i; i++; n y k++; display max[k] End