สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
การสอนแบบ Backward Design
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ทฤษฎีการสร้างความรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า
รูปแบบการสอน.
การปลูกพืชผักสวนครัว
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การฟังเพลง.
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35 (1 ก. พ.55)

ท่านเชื่อข้อความต่อไปนี้ มากน้อยแค่ไหน ! “ โดยข้อเท็จจริงแล้ว เราไม่ สามารถ สอนอะไรให้กับใครได้ อย่างดีที่สุดจะทำได้ก็คือ “ จัดเงื่อนไข ”(Conditioning) และ “ ช่วยเหลือ ”(facilitate) ให้เขา เรียนรู้เท่านั้น ขอ feedback หน่อยครับ

แสดงว่า ครู / ผู้เกี่ยวข้อง ต้องมี “ ภาพของการเรียนรู้ ” (Image 0f Learning) อย่างชัดเจน เรามาช่วยกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ การเรียนรู้ ” กันหน่อย

ประเด็นสำคัญ ( องค์ประกอบ / กลไกของการเรียนรู้ ) การเรียนรู้ เป็นเรื่อง “ ส่วน บุคคล ”( ไม่ใช่เรื่องของครู / เพื่อนนักเรียน / ศึกษานิเทศก์ ฯลฯ ) การเรียนรู้ เป็น กระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง มวล ประสบการณ์แห่งการเรียนรู้ และ การตอบสนองการปฏิบัติ ของผู้เรียน ( เอง )

การเรียนรู้ จะเกิดขึ้นได้ก็เมื่อ มี การกระทำ (Actions) ( ของ ผู้เรียนเอง ) การกระทำ ( ของผู้เรียนรู้ ) คือ อะไรบ้าง ?

( ในสมอง ) เบื้องหลัง เบื้อง หน้า ( การแสดงออก / ชิ้นงาน สุดท้าย ) การออกแบบ ( ให้เกิดการ เรียนรู้ ) ต้องคำนึงถึง “ เบื้องหลัง ” ด้วย

เบื้องหลัง / จุดกำเนิดของ การเรียนรู้ ก็คือ การ ( ที่ผู้เรียน ) นำ “ มวล ประสบการณ์ ” มา เปรียบเทียบ กับ “ ประสบการณ์เดิม ”( ความรู้ เดิม ) ( โดยครูต้องมีหน้าที่จัด เงื่อนไข / ช่วยเหลือให้เกิด ( ในกิจกรรม )

การเปรียบเทียบ ( ครูต้อง ออกแบบกิจกรรมอย่าง หลากหลาย ให้เหมาะกับวัย / ความพร้อมของผู้เรียนด้วย ) เช่น จำแนกแจกแจง เรียงลำดับ หาความสัมพันธ์

เบื้องหน้า นำไป “ ปฏิบัติ ” กลายเป็น “ ความรู้ ใหม่ ”( ที่มีความหมายมากกว่า ( ของ ) เดิม ( ที่ผู้เรียนเคยมีอยู่ )

แสดงว่า กระบวนการเรียนรู้ ต้องมี ๒ ขยัก ขยักที่ ๑ : ขยายความหมาย เดิม ขยักที่ ๒ : สร้างความหมาย ใหม่ ดังนั้น “ กิจกรรม และ ภาระ / ชิ้นงาน ” ต้องมีทั้ง ๒ ขยัก ( ถูก ไหม ) ?

ขยายความหมายเดิม เพื่อสร้าง “ ความรู้แบบความคิด รวบยอด ”( หลายสิ่งที่หมายถึงสิ่ง เดียวกัน ) “ หลายสิ่ง ” มีที่มาจากทั้ง “ ประสบการณ์ / ความรู้เดิม / ใหม่ และผู้เรียน ( ใน ) แต่ละคน ก็ อาจจะมี ( จำนวน ) ความคิดรวบ ยอด ไม่เท่ากัน ในแต่ละ “ ความคิดรวบยอด ” จะ มี “ ภาวะสมดุล ” ในตัวเอง

“ ภาวะสมดุล ”( ในตัวเอง ) จะไม่ นำไปสู้ “ การเรียนรู้ ” แสดงว่า “ ความคิดรวบยอด ” เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นแค่เรื่อง “ ความจำ ” และเป็นความจำ ที่ จะจำแม่นมาก ( เพราะถูกจัด grouping แล้ว ) ในสภาพปกติ ของ ( แต่ละ ) ความคิดรวบยอด ถ้าหากไม่วาง เงื่อนไขให้มัน การเรียนรู้เกิด ยากมาก

การเรียนรู้ จะเกิดได้ ต้องทำให้ เกิด “ สภาวะไม่สมดุล ”( ระหว่าง / แต่ ละ ) ความคิดรวบยอด ( ทั้งเก่าและ ใหม่ หากผู้เรียนตกอยู่ใน สภาวะไม่ สมดุล ผู้เรียนต้องกลับไปใช้ กระบวนการเรียนรู้ ๒ ขยัก ( ขยายความหมายเดิม / สร้าง ความหมายใหม่ )

กระบวนการพัฒนาที่เกิด ( ต่อเนื่อง ) ความรู้แบบความคิดรวบยอด ความรู้แบบความสัมพันธ์ ความรู้แบบหลักการ ( ความเป็น เหตุเป็นผล ) * ( คุณภาพสูง พัฒนาขึ้น = ความเป็นเหตุเป็นผล มีเหตุผล นั่นเอง )

ดังนั้น เราจะ “ ประเมิน ” ว่าผู้เรียน เกิด “ การเรียนรู้ ” หรือยัง ต้องดู ต้องดู “ ร่องรอย / หลักฐาน ” จาก ว่า “ ผู้เรียนได้เป็นผู้ลงมือ สร้างความหมายใหม่ที่ดีกว่า เดิม ( ตามแนววัฒนธรรมที่ ผู้เรียนอาศัยอยู่ )

จาก แนวทางข้างต้น จึงเกิด เป็น “ ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบผู้เรียน เป็นผู้สร้าง ความรู้ ”(Constructivism)

( ขอ ) ทบทวน ขั้นตอนของทฤษฎี การเรียนรู้แบบ Constructivism 1. นำประสบการณ์เดิมมารวมกับ ประสบการณ์ใหม่ 2. จัดทำเป็นโครงสร้าง (schme) แผนภาพแบบต่างๆ 3. สรุปเป็นความหมายใหม่ที่ ดีกว่าเดิม ( ตามกรอบ วัฒนธรรม )

๔. ใช้ ความหมายใหม่ ในการ ผลิตผลงานที่ดีกว่าเดิม ๕. ร่วมมือแก้ปัญหาให้เกิดผลดี ร่วมกัน ๖. ประเมินปรับปรุงคุณค่าของ งาน ๗. ร่วมมือสร้างสรรค์เพิ่มพูน วัฒนธรรมอันดีงาม

สรุป ผู้เรียนจะ เรียนรู้ได้เอง ( ต่อไป / ตลอดไป ) ต้องมี “ วิธีการเรียนรู้ ” ที่ติดฝังแน่นอยู่ กับตัวตนตลอดเวลา ***************