สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35 (1 ก. พ.55)
ท่านเชื่อข้อความต่อไปนี้ มากน้อยแค่ไหน ! “ โดยข้อเท็จจริงแล้ว เราไม่ สามารถ สอนอะไรให้กับใครได้ อย่างดีที่สุดจะทำได้ก็คือ “ จัดเงื่อนไข ”(Conditioning) และ “ ช่วยเหลือ ”(facilitate) ให้เขา เรียนรู้เท่านั้น ขอ feedback หน่อยครับ
แสดงว่า ครู / ผู้เกี่ยวข้อง ต้องมี “ ภาพของการเรียนรู้ ” (Image 0f Learning) อย่างชัดเจน เรามาช่วยกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ การเรียนรู้ ” กันหน่อย
ประเด็นสำคัญ ( องค์ประกอบ / กลไกของการเรียนรู้ ) การเรียนรู้ เป็นเรื่อง “ ส่วน บุคคล ”( ไม่ใช่เรื่องของครู / เพื่อนนักเรียน / ศึกษานิเทศก์ ฯลฯ ) การเรียนรู้ เป็น กระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง มวล ประสบการณ์แห่งการเรียนรู้ และ การตอบสนองการปฏิบัติ ของผู้เรียน ( เอง )
การเรียนรู้ จะเกิดขึ้นได้ก็เมื่อ มี การกระทำ (Actions) ( ของ ผู้เรียนเอง ) การกระทำ ( ของผู้เรียนรู้ ) คือ อะไรบ้าง ?
( ในสมอง ) เบื้องหลัง เบื้อง หน้า ( การแสดงออก / ชิ้นงาน สุดท้าย ) การออกแบบ ( ให้เกิดการ เรียนรู้ ) ต้องคำนึงถึง “ เบื้องหลัง ” ด้วย
เบื้องหลัง / จุดกำเนิดของ การเรียนรู้ ก็คือ การ ( ที่ผู้เรียน ) นำ “ มวล ประสบการณ์ ” มา เปรียบเทียบ กับ “ ประสบการณ์เดิม ”( ความรู้ เดิม ) ( โดยครูต้องมีหน้าที่จัด เงื่อนไข / ช่วยเหลือให้เกิด ( ในกิจกรรม )
การเปรียบเทียบ ( ครูต้อง ออกแบบกิจกรรมอย่าง หลากหลาย ให้เหมาะกับวัย / ความพร้อมของผู้เรียนด้วย ) เช่น จำแนกแจกแจง เรียงลำดับ หาความสัมพันธ์
เบื้องหน้า นำไป “ ปฏิบัติ ” กลายเป็น “ ความรู้ ใหม่ ”( ที่มีความหมายมากกว่า ( ของ ) เดิม ( ที่ผู้เรียนเคยมีอยู่ )
แสดงว่า กระบวนการเรียนรู้ ต้องมี ๒ ขยัก ขยักที่ ๑ : ขยายความหมาย เดิม ขยักที่ ๒ : สร้างความหมาย ใหม่ ดังนั้น “ กิจกรรม และ ภาระ / ชิ้นงาน ” ต้องมีทั้ง ๒ ขยัก ( ถูก ไหม ) ?
ขยายความหมายเดิม เพื่อสร้าง “ ความรู้แบบความคิด รวบยอด ”( หลายสิ่งที่หมายถึงสิ่ง เดียวกัน ) “ หลายสิ่ง ” มีที่มาจากทั้ง “ ประสบการณ์ / ความรู้เดิม / ใหม่ และผู้เรียน ( ใน ) แต่ละคน ก็ อาจจะมี ( จำนวน ) ความคิดรวบ ยอด ไม่เท่ากัน ในแต่ละ “ ความคิดรวบยอด ” จะ มี “ ภาวะสมดุล ” ในตัวเอง
“ ภาวะสมดุล ”( ในตัวเอง ) จะไม่ นำไปสู้ “ การเรียนรู้ ” แสดงว่า “ ความคิดรวบยอด ” เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นแค่เรื่อง “ ความจำ ” และเป็นความจำ ที่ จะจำแม่นมาก ( เพราะถูกจัด grouping แล้ว ) ในสภาพปกติ ของ ( แต่ละ ) ความคิดรวบยอด ถ้าหากไม่วาง เงื่อนไขให้มัน การเรียนรู้เกิด ยากมาก
การเรียนรู้ จะเกิดได้ ต้องทำให้ เกิด “ สภาวะไม่สมดุล ”( ระหว่าง / แต่ ละ ) ความคิดรวบยอด ( ทั้งเก่าและ ใหม่ หากผู้เรียนตกอยู่ใน สภาวะไม่ สมดุล ผู้เรียนต้องกลับไปใช้ กระบวนการเรียนรู้ ๒ ขยัก ( ขยายความหมายเดิม / สร้าง ความหมายใหม่ )
กระบวนการพัฒนาที่เกิด ( ต่อเนื่อง ) ความรู้แบบความคิดรวบยอด ความรู้แบบความสัมพันธ์ ความรู้แบบหลักการ ( ความเป็น เหตุเป็นผล ) * ( คุณภาพสูง พัฒนาขึ้น = ความเป็นเหตุเป็นผล มีเหตุผล นั่นเอง )
ดังนั้น เราจะ “ ประเมิน ” ว่าผู้เรียน เกิด “ การเรียนรู้ ” หรือยัง ต้องดู ต้องดู “ ร่องรอย / หลักฐาน ” จาก ว่า “ ผู้เรียนได้เป็นผู้ลงมือ สร้างความหมายใหม่ที่ดีกว่า เดิม ( ตามแนววัฒนธรรมที่ ผู้เรียนอาศัยอยู่ )
จาก แนวทางข้างต้น จึงเกิด เป็น “ ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบผู้เรียน เป็นผู้สร้าง ความรู้ ”(Constructivism)
( ขอ ) ทบทวน ขั้นตอนของทฤษฎี การเรียนรู้แบบ Constructivism 1. นำประสบการณ์เดิมมารวมกับ ประสบการณ์ใหม่ 2. จัดทำเป็นโครงสร้าง (schme) แผนภาพแบบต่างๆ 3. สรุปเป็นความหมายใหม่ที่ ดีกว่าเดิม ( ตามกรอบ วัฒนธรรม )
๔. ใช้ ความหมายใหม่ ในการ ผลิตผลงานที่ดีกว่าเดิม ๕. ร่วมมือแก้ปัญหาให้เกิดผลดี ร่วมกัน ๖. ประเมินปรับปรุงคุณค่าของ งาน ๗. ร่วมมือสร้างสรรค์เพิ่มพูน วัฒนธรรมอันดีงาม
สรุป ผู้เรียนจะ เรียนรู้ได้เอง ( ต่อไป / ตลอดไป ) ต้องมี “ วิธีการเรียนรู้ ” ที่ติดฝังแน่นอยู่ กับตัวตนตลอดเวลา ***************