โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การประชุมใหญ่ คณาจารย์และบุคคลากร คณะบริหารธุรกิจ ประจำปีการศึกษา 2554
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ครูพรรณี ชุติวัฒนธาดา สอนภาษาอังกฤษระดับ ม. 3 และ ม
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
คุณธรรมนำความรู้ รูปแบบการเรียนการสอน แบบบูรณาการ
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
บทบาทและจริยธรรมของครูอุดมศึกษากับสังคมไทย
ลูกใครวะ.
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
Ombudsman Talk.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ถวายเป็นพุทธบูชา (ฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม)
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ครั้งที่ ๒.
๑. ๑ ปลูกฝังเยาวชนคนยุคใหม่ให้มีธรรมะ เสมือนเป็นเสาเขื่อน เสาหลักของจิตใจที่ สามารถนำมาใช้ได้จริง ด้วยการรักษาศีล ๕ ๑. ๒ ส่งเสริมนักเรียนให้ใช้เวลาว่างให้เกิด.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
Evaluation of Thailand Master Plan
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ

ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน / บูรณาการ
ความเป็นครู.
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ ความคิดรากฐาน การสอนคนให้เป็นคนดี โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ

วัตถุประสงค์ของการศึกษา กาย รู้จัก เข้าใจ ควบคุมตนเองได้ ๔/๑

วัตถุประสงค์ของการศึกษา จิต จิตสงบ นุ่มนวล มีกำลังใจ กล้าหาญ

วัตถุประสงค์ของการศึกษา ปัญญา รักษาตนเอง ประกอบสัมมาอาชีวะ พัฒนาสังคม ประเทศ เป็นพลเมืองดี ประกอบคุณความดี

ศึกษามาก รู้จักตนเองมากขึ้น ๔/๑

คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ ความสำนึกรับผิดชอบต่อศักดิ์และศรีของความเป็น มนุษย์ของตน งดเว้นจากการทำกรรมกิเลส ๔ ความสำนึกรับผิดชอบต่อศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ ของผู้อยู่ร่วมสังคม โดยเว้นขาดจากการมีอคติ ๔ ๔/๒

คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ ๓. ความสำนึกรับผิดชอบต่อศีลธรรมทาง เศรษฐกิจ โดยเว้นขาดจากอบายมุขทั้งปวง ๔. ความสำนึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ทิศ ๖ และทรัพยากรธรรมชาติ ๔/๒

หลักการสอนที่แท้จริงคืออะไร “การศึกษาต้องสร้างคนดี คือ ทำคนให้เป็นคนดี ไม่ใช้สร้างคนเก่งอย่างเดียว สังคมต้องการทั้งคน เก่ง และคนดี ปัญหาสำคัญอยู่ที่ว่า ระหว่างคนเก่ง และ คนดี อย่างไหนควรมาก่อน”

“การที่ประเทศไทยจัดระบบการศึกษาตามประเทศต่าง ๆ แล้วคิดว่าการสร้างคนเก่งขึ้นมาเป็นเรื่องสำคัญ ขณะที่โรงเรียนก็สอนคนให้เก่งที่สุด เพื่อสอบแข่งขันเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนมหาวิทยาลัยก็คัดเลือกเฉพาะคนเก่งที่สุด มีคะแนนสูงสุดเข้ามาในระบบ ซึ่งระบบการแข่งขันเอาชนะกัน สร้างคนเก่งขึ้นมากลับกลายสร้างปัญหาหลายอย่างตามมา ขณะที่ผู้บริหารสูงสุดในระบบการศึกษาก็เปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาอยู่ได้ไม่นาน แต่ละคนมีนโยบายแตกต่างกัน จนสร้างความสับสนในระบบการศึกษา” นายอาจอง  ชุมสาย ณ อยุธยา

เปลี่ยนการศึกษา เน้น “ความดี” ก่อน คิดถึงส่วนรวม ไม่เห็นแก่ตัว

ปัจจัยในการสร้างคนดี ครูดี เป็นปัจจัยสำคัญที่สุด โดยคุณสมบัติต้องเป็นครูที่พูดทุกอย่างออกมาจากใจ สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ฟัง การฝึกสมาธิ ต้องยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น

หลักการสอนที่แท้จริง ให้ความสำคัญกับ นิสัย > วิชาการ คุณธรรม ทฤษฎี แสดงพฤติกรรมต่อเนื่องจนคุ้นชิน ๔/๓

ที่ควรปลูกฝังให้กับผู้เรียน สะอาด อดทน ระเบียบ นิสัยพื้นฐาน ที่ควรปลูกฝังให้กับผู้เรียน สุภาพ วินัย เคารพ ใฝ่รักษาสุขภาพ ใฝ่ทำดี ใฝ่เรียนรู้ ตรงเวลา ๔/๓

      “เราไม่อาจปลูกต้นไม้ให้งอกงาม   ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยมลพิษ ฉันใด การศึกษาของชาติก็ไม่อาจสร้างคนให้เป็นคนดีได้ หากปราศจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะแก่การสร้างคนดี ฉันนั้น ”

นักเรียนต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมต้นแบบที่ดี หลักการปลูกฝังนิสัย นักเรียนต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมต้นแบบที่ดี วัฒนธรรม คน วัตถุ

การจัดการเรียนการสอนตามหลักวุฒิธรรม ๔ ๑. ครูเป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ ๒. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ให้ลึกซึ้งถูกต้อง ๓. สอนโดยตั้งคำถาม What, Why, How, If…then ๔. นำผู้เรียนในการนำความรู้ไปปฏิบัติ ๔/๓

กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี ๑. กิจกรรมศีลธรรม การปลูกสัมมาทิฐิ ๑๐ และการปลูกสัมมาสมาธิ การให้ทาน การฟังเทศน์ การสวดมนต์ ๔/๔ การยกย่องคนดี

กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี ๒. กิจกรรมวิชาการ การปลูกสัมมาสังกัปปะ การคิดวิเคราะห์ แยกแยะสิ่งดี/ชั่ว ประยุกต์ความรู้ ๘ กลุ่มสาระ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๔/๔

กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี ๓. กิจกรรมสังคม การปลูกสัมมาวาจา และมารยาทดีงาม การฝึกพูดแสดงความคิดเห็นเป็น การฝึกมารยาทในการพูด การฝึกการวางตัวให้เหมาะสม ๔/๔

กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี ๔. กิจกรรมดำรงชีวิต การปลูกสัมมากัมมันตะ การดูแลสุขภาพเบื้องต้น การรู้จักใช้และรักษาปัจจัย ๔ การฝึกมารยาทในการดำรงชีวิต ๔/๔

กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี ๕. กิจกรรมอาชีพ การปลูกสัมมาอาชีวะ การหาทรัพย์เป็น การเก็บรักษาและการใช้ทรัพย์เป็น การสร้างเครือข่ายคนดี ๔/๔

กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี ๖. กิจกรรมนันทนาการ การพักผ่อนเป็น การทำสมาธิ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๔/๔

มรรค ๘ ๔/๕ (มรรค = อริยมรรค = มัชฌิมาปฏิปทา = มรรคแปด = ทางดำเนินชีวิตอันประเสริฐ = ทางสายกลาง) แนวทางดำเนินอันประเสริฐของชีวิตหรือกาย วาจา ใจ เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ ๔/๕

มรรค ๘ ๑.เข้าใจถูก ๒.มีความคิดถูก ๓.มีวาจาถูก ๔.กระทำถูก ๕.มีอาชีพถูก ๖.พยายามถูก ๘.จิตตั้งมั่นถูก ๗.ระลึกตัวถูก

การออกแบบการเรียนรู้ตามหลักวุฒิธรรม ๔ ๑. หาครูดี : รู้ค้นคว้า ๒.ฟังคำครู : รู้เข้าใจ ๓. ตรองคำครู : รู้คิด ๔. ปฏิบัติตามจนได้ดีเหมือนครู : รู้ปฏิบัติและนำไปใช้ ๔/๕

“นอกจากการศึกษาจะสอนให้คนเก่งแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะอบรมให้ดีไปพร้อมกับ ไปด้วย ประเทศไทยเราจึงจะได้คนที่มี คุณภาพ คือทั้งเก่ง ทั้งดี มาเป็นกำลัง ของบ้านเมืองให้เป็นความเก่งเป็นปัจจัย และพลังสำหรับสร้างสรรค์ และให้ความ ดีเป็นปัจจัยเพื่อประคับประคองหนุนนำ ความเก่ง ให้เป็นไปในทางทีถูกอำนวย ผล เป็นประโยชน์อันพึงประสงค์” พระราชบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดช