กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement) ลักษณะสำคัญขององค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สำนักงาน ก.พ.ร. เปิดบ้านจัดคลินิกให้คำปรึกษาการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified FL) 6 ก.พ. 56 – 13 มี.ค. 56.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ลักษณะสำคัญขององค์กร
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 17 มีนาคม 2552 กพร.ทส. รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ

คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) กำหนดกระบวนการ (1) ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ (2) กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP 5) องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบ กระบวนการ (3) ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ ตัวชี้วัดเพื่อควบคุมกระบวนการ (4) เป้าหมายภารกิจ การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ (4) ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ (5) ป้องกัน ความผิดพลาด (5) ปรับปรุงกระบวนการ (6) (สอดคล้องตาม OP 14) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) นวัตกรรม รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64) 1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65) 2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66) 3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า (67) 4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4. การนำกระบวนการไปปฏิบัติเพื่อให้ บรรลุผลตามข้อกำหนด (68) 5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด (69) 6 การปรับปรุงกระบวนการ (70) 7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71) 8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72) 9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน (73) 10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74) 11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด (75) 12 การปรับปรุงกระบวนการ รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า คือ: กระบวนการที่สร้างผลผลิต (สินค้า/บริการ) ของหน่วยงานให้แก่ผู้รับบริการหรือลูกค้า 6.2 กระบวนการสนับสนุน คือ: กระบวนการที่ช่วยสนับสนุนความสำเร็จของกระบวนการที่สร้างคุณค่า รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM 1: ต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า PM 2: ต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า A แสดงวิธีการกำหนด อย่างน้อยพิจารณาจาก  ยุทธศาสตร์  พันธกิจ  ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย A มีการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ อย่างน้อยพิจารณาจาก  ความต้องการของผู้รับบริการ  ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  ข้อกำหนดด้านกฎหมาย  ประสิทธิภาพของกระบวนการ  ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน D การนำข้อกำหนดของกระบวนการไปสู่การปฏิบัติ  กำหนดตัวชี้วัดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า L มีการติดตามผลของตัวชี้วัดของกระบวนการ เพื่อนำมา ปรับปรุงกระบวนการ รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM 3: ต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนด ใน PM 2 A  แสดงข้อกำหนดที่สำคัญ/ชี้ให้เห็นว่านำมาออกแบบกระบวนการที่สร้างคุณค่า  การออกแบบได้นำปัจจัย อย่างน้อย 2 ปัจจัย มาใช้ประกอบ  องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป  ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน  การควบคุมค่าใช้จ่าย  ประสิทธิภาพและประสิทธิผล D มีการสื่อสารสร้างความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับ  การออกแบบ  การนำไปปฏิบัติ L มีการตรวจสอบกระบวนการ เพื่อวิเคราะห์หาจุดที่ควร ปรับปรุง โดยการ  ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ หรือ  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของผู้ปฏิบัติงาน รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM 4: ต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง PM 5: ต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน A แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกันผลกระทบ กรณีเกิด เหตุฉุกเฉิน D สื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนฉุกเฉินให้ทันสมัยอยู่เสมอ I แสดงความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการ ดำเนินการตามพันธกิจหลักว่าสามารถดำเนินงานได้อย่าง ต่อเนื่อง A  แสดงรายชื่อกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนที่ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหาร  คัดเลือกไม่น้อยกว่า 50% มาจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน  มาตรฐานอย่างน้อยควรประกอบด้วย work flow และคุณภาพ D แสดงวิธีการนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติ โดยเผยแพร่ มาตรฐาน จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน มีระบบติดตามเพื่อให้ เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด L มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงกระบวนการ I  มีการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ  มีระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุตามข้อกำหนด กพร.ทส. รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM 6: ต้องมีการปรับปรุงกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน A  แนวทาง/วิธีการที่แสดงถึงการปรับปรุงกระบวนการ  แนวทาง/วิธีการป้องกันความผิดพลาด การทำงานซ้ำ และลดการสูญเสีย เช่น การบริหารความเสี่ยง D  วิธีการสื่อสารมาตรฐานการปฏิบัติงานให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบ เช่น การประชุม บันทึกเวียน website  กิจกรรม/โครงการในการปรับปรุงกระบวนการ (ยกตัวอย่างกระบวนการที่ได้ปรับปรุง) L หลักฐานการทบทวน เช่น การประชุมคณะทำงาน การจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

การจัดการความรู้ การจูงใจ การระบุผู้มีส่วนได้เสีย Tools : การจัดการกระบวนการ ส่วนที่ 1: การออกแบบ การระบุผู้มีส่วนได้เสีย กำหนดกระบวนการ (1) ความต้องการและความคาดหวัง การวิเคราะห์คุณค่าของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิธีการในการรวบรวมข้อมูล ข้อกำหนดที่สำคัญ (2) การวิเคราะห์โดยใช้ตารางคุณค่า การวิเคราะห์กระบวนการ ออกแบบ กระบวนการ (3) วิเคราะห์จุดควบคุม การวิเคราะห์ความเสี่ยง กำหนดเครื่องมือวัด ส่วนที่ 2: การควบคุม การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ (4) กำหนดระดับมาตรฐาน ดำเนินการควบคุมและวิเคราะห์ วิเคราะห์กระบวนการไหล ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ (5) ป้องกัน ความผิดพลาด (5) ต้นทุนคุณภาพ วิเคราะห์มูลค่าเพิ่ม ส่วนที่ 3: การปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนการ (6) โอกาสในการปรับปรุง การจัดการความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) การจูงใจ นวัตกรรม รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

PM 1 (A): แสดงวิธีการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า ประเด็นการพิจารณา การพิจารณา ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. เป็นภารกิจตามยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ที่กำหนด/ได้รับมอบหมายให้หน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ 2. เป็นหน้าที่ตามพันธกิจ/กฎกระทรวง/คำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวง ที่กำหนดให้หน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ 3. เป็นภารกิจที่ต้องดำเนินการเนื่องจากเป็นความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งหน่วยงานมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

PM 2 (A): การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ ประเด็นการพิจารณา การพิจารณา ความต้องการของผู้รับบริการ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน 1. นำข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน หรือที่หน่วยงานทำการสำรวจไว้เองมาแยกประเภทและจัดลำดับความสำคัญ 2. นำข้อมูลความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน หรือที่หน่วยงานทำการสำรวจไว้เองมาแยกประเภทและจัดลำดับความสำคัญ ตรวจสอบอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย รวมถึงระเบียบวิธีปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบและรัดกุม ตรวจสอบเป้าหมายของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นกรอบในการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการประหยัด ไม่เพิ่มรายจ่าย และบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

PM 3 (A): ข้อกำหนดที่สำคัญ 1. ให้ความสำคัญต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับต้นๆ ของแต่ละประเภทของความต้องการ 2. การดำเนินงานต้องไม่ขัดต่อข้อกฎหมาย หรือระเบียบปฏิบัติ ตอบสนองต่อเป้าหมาย/ผลผลิตที่กำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการประหยัด ไม่เพิ่มรายจ่าย และบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปปฏิบัติได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม มีความคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ และไม่ส่งผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

Customers Outputs Process Inputs Suppliers SIPOC Model/Value chain model ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร 1 Customers สินค้าหรือบริการคืออะไร Outcome 2 3 Outputs ความต้องการคืออะไร กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร 4 Process ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการคืออะไร 5 Inputs ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร 6 Suppliers รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

SIPOC Model/Value chain model Outcome 1 2 ขั้นตอน input 11 supplier 111 112 จุดตรวจ KPI Supplier Input Process Output Customer สินค้า หรือ บริการที่ 1 Output Spec1 Spec2 Spec3 supplier 121 input 12 Outcome 3 supplier 131 input 13 ขั้นตอน 2 Outcome 4 ขั้นตอน 3 ขั้นตอน 4 ขั้นตอน 5 รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

ความเชื่อมโยงของระบบการจัดการกับ PMQA รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.

วงจร PMQA กพร.ทส. รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ

ถาม - ตอบ รวมน้ำใจ ใฝ่คุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ กพร.ทส.