การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

เลขยกกำลัง.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
สื่อการเรียนรู้ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
การนับเบื้องต้น Basic counting
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
ENCODER.
Digital Logic and Circuit Design
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 10 AC Power Analysis
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
CS Assembly Language Programming
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ โดย .. เอ็ดเวิร์ด เดอโบโน
ระบบเลขฐาน.
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
กล่องที่จะทำการเจาะเพื่อใส่ อุปกรณ์ ( ด้านบน ). กล่องที่จะทำการเจาะเพื่อใส่ อุปกรณ์ ( ด้านล่าง )
ความต้านทานที่ปรับค่าได้
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
Ch 12 AC Steady-State Power
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์

การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์ คาปาซิเตอร์มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) ไมโครฟารัด (uF) หรือ MFD และ นาโนฟารัด (nF) ดังนั้น         1 F   = 1,000,000 uF         1 uF = 1,000 nF         1 nF = 1,000 pF

การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์ การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์     ตัวเก็บประจุจะบอกลักษณะอยู่ทั้งหมด 3 แบบ คือ    1. บอกเป็นตัวเลขค่าความจุ    2. บอกเป็นตัวเลข    3. บอกเป็นแถบสี

การอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลข คาปาซิเตอร์ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีความจุสูง และบอกอัตราทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดมาด้วย จากรูปสามารถอ่านได้  1500 ไมโครฟารัด ทนแรงดันสูงสุดที่ 35 โวลท์

ทนแรงดันสูงสุดที่ 100 โวลท์ ตัวที่ 2 สามารถอ่านได้ ตัวที่ 1 สามารถอ่านได้  10 ไมโครฟารัด ทนแรงดันสูงสุดที่ 100 โวลท์   ตัวที่ 2 สามารถอ่านได้  ทนแรงดันสูงสุดที่ 250 โวลท์

1 0 และเติมศูนย์อีกสองตัว จะได้  คาปาซิเตอร์ชนิดนี้จะบอกเป็นตัวเลขมา 3 ตำแหน่งด้วยกัน โดยที่ ตัวที่หนึ่งจะเป็นตัวตั้งหลักที่หนึ่ง ตัวที่สองจะเป็นตัวตั้งหลักที่สอง และตัวเลขตัวที่สามจะเป็นตัวเติมเลขศูนย์ลงไป(หรือตัวคูณก็ได้) หน่วยที่ได้จะเป็นพิโกฟารัด เสมอ จากรูป   1 0 และเติมศูนย์อีกสองตัว จะได้ 1000 pF หรือ 1 nF(หารด้วย1,000) หรือ 0.001 uF (หารด้วย 1,000,000)

ตัวอย่างการอ่านค่าตัวเก็บประจุ 150000 pF 150 nF 0.15 uF

การอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลข

การอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสี การอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสี หลักอ่านจะคล้ายกับตัวต้านทาน การอ่านค่าสีตัวคาปาซิเตอร์ เหลือง จะเป็นตัวตั้งหลักที่หนึ่ง มีค่า     4 ม่วง      จะเป็นตัวตั้งหลักที่สอง มีค่า     7 เหลือง  จะเป็นตัวคูณ                 มีค่า     x10000 ขาว     จะเป็นเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด มีค่า 10 % แดง     จะเป็นอัตราทนแรงดันไฟฟ้า       มีค่า 200 V   ดังนั้นสามารถอ่านได้  470000 pF หรือ 0.47 uF