ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จงแปลงเลขฐานสิบ ให้เป็นเลขฐานสอง,แปด,สิบหก
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
ระบบตัวเลขโรมัน.
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
เงิน.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
Introduction to Digital System
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เศษส่วน.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การบวก.
Mathematics Money
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด.
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขฐาน.
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ปัญหา คิดสนุก.
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร

ระบบตัวเลขฐานสิบ คือ 0 ,1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบ คือ 0 ,1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9

ตารางแสดงหลักและค่าประจำหลักในระบบตัวเลขฐานสิบ หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก

2 2 7 7 4 4 3 3 2 2 อยู่ในหลักที่ หนึ่ง มีค่าเป็น 2 × 1 ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก การเขียนตัวเลขแทนจำนวนในระบบตัวเลขฐานสิบ เช่น 230,472 2 อยู่ในหลักที่ หนึ่ง 2 มีค่าเป็น 2 × 1 7 7 อยู่ในหลักที่ สอง มีค่าเป็น 7 × 101 4 อยู่ในหลักที่ สาม 4 มีค่าเป็น 4 × 102 อยู่ในหลักที่ สี่ มีค่าเป็น 0 × 103 3 อยู่ในหลักที่ ห้า 3 มีค่าเป็น 3 × 104 2 2 อยู่ในหลักที่ หก มีค่าเป็น 2 × 105

จงบอกว่า 5 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร 1) 5 มีค่าเป็น 5 × 1 หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงบอกว่า 5 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร 1) 5 มีค่าเป็น 5 × 1 เท่ากับ 5 2) 56 มีค่าเป็น 5 × 10 เท่ากับ 50

จงบอกว่า 5 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร 3) 135 มีค่าเป็น 5 × 1 หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงบอกว่า 5 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร 3) 135 มีค่าเป็น 5 × 1 เท่ากับ 5 4) 5,246 มีค่าเป็น 5 × 103 เท่ากับ 5,000

จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ ในรูปกระจาย 21 = (2 ×10) + (1 ×1) 336 = (3 ×102) หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ ในรูปกระจาย 21 = (2 ×10) + (1 ×1) 336 = (3 ×102) + (3 ×10) + (6 ×1) 4,073 = (4 ×103) + (0 ×102) + (7 ×10) + (3 ×1)

จงเขียนจำนวนแทนการรูปกระจายต่อไปนี้ 1) (2×102) + 5 = 200 + 5 = 205 หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงเขียนจำนวนแทนการรูปกระจายต่อไปนี้ 1) (2×102) + 5 = 200 + 5 = 205 2) (1×103) + (0 ×102) + (5 × 10) + (9 × 1) = 1,000 + 0 + 50 + 9 = 1,059

ระบบตัวเลขฐานห้า มีหลักเกณฑ์ คือ นับสิ่งของที่มีจำนวนไม่ถึงห้า มีเลขโดด ห้า ตัว คือ 0, 1, 2, 3 และ 4 ในระบบตัวเลขฐานห้า จะเขียน ห้า กำกับไว้ที่ตัวเลข เช่น 12ห้า อ่านว่า หนึ่งสองฐานห้า 213ห้า อ่านว่า สองหนึ่งสามฐานห้า

หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก

การเขียนจำนวนในตัวเลขฐานห้า เช่น 3012ห้า หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก การเขียนจำนวนในตัวเลขฐานห้า เช่น 3012ห้า 2 อยู่ในหลักที่หนึ่ง 2 มีค่าเป็น 2 × 1 1 อยู่ในหลักที่สอง 1 มีค่าเป็น 1 × 51 อยู่ในหลักที่สาม มีค่าเป็น 0 × 52 3 อยู่ในหลักที่สี่ 3 มีค่าเป็น 3 × 53

หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก 3012ห้า = (3×53) + (0 × 52) + (1 ×51) + (2 × 1) = (3×125) + (0 × 25) + (1 ×5) + (2 × 1) = 375 + 0 + 5 + 2 = 382

จงเขียน 1234ห้า ให้อยู่ในระบบตัวเลขฐานสิบ วิธีทำ 1234ห้า = หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงเขียน 1234ห้า ให้อยู่ในระบบตัวเลขฐานสิบ วิธีทำ 1234ห้า = (1×53)+(2×52)+(3×5)+(4×1) (1×125)+(2×25)+(3×5)+(4×1) = = 125 + 50 + 15 + 4 = 194 ตอบ 194

การเขียน ระบบตัวเลขฐานสิบให้อยู่ในระบบตัวเลขฐานห้า หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก การเขียน ระบบตัวเลขฐานสิบให้อยู่ในระบบตัวเลขฐานห้า ทำได้โดยการหารด้วย 5 ดังนี้

จงเขียน 748 ให้อยู่ในระบบตัวเลขฐาน ห้า วิธีทำ 5 ) 748 เศษ 3 5 ) 149 5 หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงเขียน 748 ให้อยู่ในระบบตัวเลขฐาน ห้า วิธีทำ 5 ) 748 เศษ 3 5 ) 149 5 ) 29 เศษ 4 5 ) 5 เศษ 4 1 เศษ 0 ดังนั้น 748 = 10443ห้า

) ) ) จงเขียน 385 ให้อยู่ในระบบตัวเลขฐาน ห้า วิธีทำ 5 385 5 เศษ 0 77 5 หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงเขียน 385 ให้อยู่ในระบบตัวเลขฐาน ห้า วิธีทำ 5 ) 385 5 ) เศษ 0 77 5 ) 15 เศษ 2 3 เศษ 0 ดังนั้น 385 = 3020ห้า

จงบอกว่า 4 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้มีค่าเท่าไร หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงบอกว่า 4 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้มีค่าเท่าไร 430ห้า 4 อยู่ในหลักที่สาม มีค่าเป็น 4 × 52 = 100 240ห้า 4 อยู่ในหลักที่ สอง มีค่าเป็น 4 × 51 = 20

จงบอกว่า 4 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้มีค่าเท่าไร 23024ห้า หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงบอกว่า 4 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้มีค่าเท่าไร 23024ห้า 4 อยู่ในหลักที่หนึ่ง มีค่าเป็น 4 × 1 = 4 4302011ห้า 4 อยู่ในหลักที่เจ็ด มีค่าเป็น 4 × 56 = 62,500

ค่าของ 2 และ 4 ในแต่ละจำนวนต่างกันอยู่เท่าไร หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก ค่าของ 2 และ 4 ในแต่ละจำนวนต่างกันอยู่เท่าไร 24ห้า 2 อยู่ในหลักที่สอง = 2 × 5 = 10 4 อยู่ในหลักที่หนึ่ง = 4 × 1 = 4 ดังนั้น 2 และ 4 ต่างกัน = 10 - 4 = 6

จงบอกว่า 4 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้มีค่าเท่าไร หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก จงบอกว่า 4 ในแต่ละจำนวนต่อไปนี้มีค่าเท่าไร