วัดมโนภิรมย์ จังหวัด มุกดาหาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แอ่วเชียงฮายโต้ยกันนะเจ้า...า..า
Advertisements

ท่องเที่ยวจจังหวัดสุพรรณบุรี
เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนค่ะ ถือว่าเป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยที่มีตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเชียวนะคะ.
ชวนไปทัศนา “ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน”
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
โครงงาน 中国剪纸 การตัดกระดาษแบบจีน
วัดพระแก้ว.
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์และสยามวงศ์สมัยอยุธยา
Kyoto Japan.
จิตรกรรม จิตรกรรมสมัยสุโขทัย ส่วนใหญ่เล่าเรื่องทางศาสนาเป็นลักษณะการเขียนภาพแบบอุดมคติ เช่น ภาพอดีตพุทธเจ้า ประทับยืนเรียงรายเป็นแถว แต่ละองค์คั่นสลับด้วยภาพบุคคลชั้นสูงประทับอัญชลี
ระบบการพิมพ์.
สถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ
เด็กหญิงชลิดา ทิฐธรรมงามดี
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
สุมนมาลาการ.
นางสาวสุกัญญา จันทร์ทอง (ฝน) คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิทยาการสิ่งทอ
แนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่สำคัญ ของกรุงรัตนโกสินทร์
กำหนดการพิธีเททองหล่อ ครบรอบวันสถาปนากรมปศุสัตว์ ๗๒ ปี
โดย เด็กชายชนสิษฏ์ วุฒิรักษ์ชัยนันท์ ป.4/3 เลขที่7
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
1 สารบั ญ ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ. ศ ว่าเป็นเมือง ประเทศราชในจำนวน.
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
The designs inspired by Phra Maha Chedi of King Rama I-IV at Wat Phra Chetuphon Vimolmangklararm Rajwaramahaviharn Mr. Taechit Cheuypoung.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
เ ข า พ ร ะ วิ ห า ร นำเสนอโดย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4 เด็กหญิงอรอนงค์ วิไลฤทธิ์ ป.5 กลุ่มที่ 4 เด็กหญิงวรัญญา แทนไธสง ป.5 กลุ่มที่
Zhang Hongju For พุทธวรรณ ขันต้นธง
ชายหาดทะเลในจังหวัดระยอง
จังหวัดปราจีนบุรี คำขวัญประจำจังหวัด
สถานที่ท่องเที่ยว ในจังหวัดนครนายก.
ที่ตั้ง ตั้งอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งในดินและในน้ำ มีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการทำการเกษตร.
นครชุมเมืองเก่า โดย พลอยกนก เวชเจริญ.
จังหวัด สมุทรปราการ จัดทำโดย นางสาวจอมขวัญ เหมรัตนธร
จังหวัดสุรินทร์.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
จัดทำโดย น.ส.จิราภรณ์ ศรีรักษา
WELCOME To ANGTHONG.
นางสาวชุธิดา สุขสวัสดิ์ รหัสนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ < วาริชศาสตร์ >
Slogan Of the province History Mood &Tone ROIET.
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร
ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในอินเดีย
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
ทัศนะศึกษา วัดอรุณราชวราราม.
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
สถานที่ที่สำคัญในอยุธยา
ที่ตั้ง พระธาตุบังพวน ตั้งอยู่เลขที่ 172 บ้านพระธาตุบัง พวน หมู่ที่ 3 ตำบลพระธาตุบังพวน อำเภอเมือง จังหวัด หนองคาย.
กรุงศรีอยุธยา.
วิหารลักซอร์ สร้างโดยฟาโรห์ อเมโนฟิส ที่ 3 พระองค์ทรงสร้างวิหารแห่งนี้พร้อมกับการ บูรณะต่อเติมวิหารคาร์นักไปด้วย หากนับวิหาร ถึงปัจจุบันจะมีอายุรวม.
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดลำพูน จัดทำโดย ด.ญ.ธวัลรัตน์ ศรีวรรณา ชั้น ม.1/4 เลขที่ 17 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
อุโบสถวัดราช บูรณะ ลักษณะ อุโบสถเป็นอาคารก่อ อิฐถือปูน ด้านหน้ามีทางเข้า ๒ ทาง มีประตู ๒ คู่ มีหน้าต่างด้านละ ๔ คู่ รวมเป็น ๘ คู่ พื้นภายในพระอุโบสถยกระดับสูง.
สถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยา
LAO Best Asian Lao Rapper from Texas- Kay feat. Tony Vee-Struggle
เขื่อนปากชม.
นี่เป็นเรื่องของพี่น้องสองคน ที่อาศัยอยู่ อย่างกลมเกลียวกัน เป็นเวลาหลายปี เขาอาศัยอยู่ในฟาร์มคนละที่ แต่วันหนึ่ง...
ช่างไทยในงานศิลปกรรม ช่างประณีตศิลป คือ ผู้ที่ใช้ฝีมือ ทำการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ สำหรับการตกแต่ง เพิ่มพูนความสวยงาม ให้มีขึ้นแก่เครื่องอุปโภคบ้าง.
กระเบื้องดินเผา กระเบื้องดินเผาค้นพบที่แรกในพิษณุโลกคือที่ใด?
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
ชื่อ พระพจชกร ฉายา อคฺคปญฺโญ นามสกุล สุตา
จัดทำโดย ด.ญ. ชนิตา พรหมรักษ์ เลขที่ 17 กลุ่ม 13
PN.4 เลขที่ 40.
บ้านเรือนไม้ DESIGNDESIGN A S S I G N M E N T ริม น้ำ น่าน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัดมโนภิรมย์ จังหวัด มุกดาหาร

ที่ตั้ง วัดมโนภิรมย์ วิหารวัดมโนภิรมย์ ที่ตั้ง บ้านชะโนด ตำบลชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร

ประวัติวัดมโนรมย์ วัดมโนภิรมย์ เดิมเรียกว่าวัดบ้านชะโนด มีประวัติยาวนานกว่า 300 ปีมาแล้ว เริ่มตั้งแต่การก่อตั้งบ้านชะโนด โดยท้าวคำสิงค์ บุตรเจ้าเมืองโพนสิม (คันธบุรี) ได้อพยพข้ามแม่น้ำโขงมาตั้งชุมชนอยู่ที่บริเวณปากห้วยชะโนด พร้อมทั้งสร้างวัดประจำหมู่บ้านขึ้น โดยชื่อวัดและชื่อหมู่บ้าน มาจากชื่อลำห้วยชะโนด และต้นตาลชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในแถบนั้น

ปีพ.ศ. 2282 ท้าวเมืองโครก หนึ่งในบรรดาผู้นำหมู่บ้านได้นำบุตรหลาน 2 คน ชื่อหอและกัสสปะเข้าบรรพชาเป็นสามเณร ต่อมาได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้วเดินทางไปศึกษาต่อในนครเวียงจันทน์ ได้ศึกษาพระธรรมจนแตกฉานสอบได้บาลีชั้นสูงสุดในสมัยนั้น จนได้รับสมณศักดิ์เป็น “อัญญาท่านหอ” และ “พระครูกัสสปะ” ในปีพ.ศ. 2296 ท่านทั้งสองได้กลับมาทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในมาตุภูมิเดิม เจ้ามหาชีวิตแห่งนครเวียงจันทน์ จึงพระราชทานเครื่องก่อสร้าง อาทิ อิฐ ปูน เหล็ก แก้ว ทอง สี ตลอดจนช่างหลวง ดังนั้น วิหาร อุโบสถ ศาลา และรั้ววัดบ้านชะโนดจึงได้ก่อสร้างขึ้นในปีนั้น แล้วเสร็จราวปีพ.ศ. 2299 ตรงกับสมัยอยุธยาตอนปลาย จากนั้นจึงได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดมโนภิรมย์”

สิ่งที่น่าสนในภายในวัดมโนรมย์ วิหารวัดมโนภิรมย์ เป็นสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน – ล้านช้างชิ้นเอก รูปแบบเป็นอาคารทรงจั่ว ก่ออิฐถือปูน มีหลังคาชั้นเดียว ตัวอาคารมีสัดส่วนที่กระทัดรัดลงตัวแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยปิดทองในซุ้มนาคปรก กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถานวัดมโนภิรมย์เมื่อปีพ.ศ. 2525 และได้บูรณะวิหารในช่วงพ.ศ. 2543 – 2544

ศิลปสถาปัตยกรรมที่ทรงคุณค่าของวิหารวัดมโนภิรมย์ ได้แก่ปูนปั้นประดับซุ้มประตู หัวเสา และตัวสัตว์เชิงบันได ฝีมือประณีตละเอียดสวยงาม นอกจากนี้ยังมีไม้แกะสลักตกแต่งจั่วและแผงกรุระหว่างเสา ลงรักปิดทองประดับกระจกและเขียนสี คันทวยไม้แกะสลักลงสีแบบศิลปะพื้นถิ่น ผนังด้านนอกสองข้างประตูมีจิตรกรรมเป็นเรื่องราวชีวิตชาวบ้าน แต่ปัจจุบันลบเลือนไปมากแล้ว วิหารหลังนี้นับเป็นโบราณสถานที่มีความเก่าแก่ ทรงคุณค่า และความเป็นของแท้ดั้งเดิมไว้ได้อย่างน่าชื่นชม

ข้อมูลการเดินทาง แผนที่ จากตัวเมืองมุกดาหาร ใช้เส้นทาง 121 ระยะทาง 42.1 กม. ใช้เวลา 1 ชม. 16 นาที จะถึงวัดมโนรมย์ แผนที่

แหล่งอ้างอิง ประวัติ http://wanyai.mukdahan.police.go.th/manotem.htm รุปภาพ http://www.holidaythai.com/Thailand-Attractions-2055.htm เส้นทาง http://maps.google.co.th

นางสาว วันวิสา อรุณทัต ปวช 2/10 เลขที่ 9 จัดทำโดย นางสาว วันวิสา อรุณทัต ปวช 2/10 เลขที่ 9

จบการนำเสนอ