การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ เป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ 1.ครบถ้วน 2.ทันเวลา 3.ครอบคลุม 4.ประสิทธิภาพ

ข้อมูล/ตัวชี้วัด 1. ความครบถ้วนของการรายงาน รง.506 100% 1. ความครบถ้วนของการรายงาน รง.506 100% 2. ความทันเวลาของการรายงาน รง.506 100% 3. ความครบถ้วนของการสอบสวนเฉพาะราย 100% 4. ความทันเวลาของการสอบสวนเฉพาะราย 100% 5. คุณภาพของการสอบสวนโรค ระดับดีมาก

การบริหารจัดการและทรัพยากร 1.ดำเนินการในรูปแบบหน่วยคู่สัญญาปฐมภูมิ (CUP) โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว SRRT 2. คณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพระหว่างชายแดนบึงกาฬ-แขวงบอลิคำไซ 3.กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลบึงกาฬ - พยาบาล 1 คน - นักวิชาการสาธารณสุข 3 คน

ผลการประเมิน ตัวชีวัด เป้าหมาย 2555 2556 100 % 37 % 57 % 100% ดีมาก 1. ความครบถ้วนของการรายงาน รง.506 100 % 37 % 57 % 2.ความทันเวลาของการรายงาน รง.506 100% 3.ความครบถ้วนของการสอบสวนเฉพาะราย 4.ความทันเวลาของการสอบสวนเฉพาะราย 5.คุณภาพของการสอบสวนโรค ดีมาก ระดับดี

การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง การเฝ้าระวัง 1.งานผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ห้องฉุกเฉิน การมีส่วนร่วมของแพทย์ พยาบาล ทำหน้าที่ในการเฝ้า ระวังโรคโดยมีรายงาน 506 เป็นตัวกำหนดโรคที่ต้องระวัง 2. เครือข่ายการเฝ้าระวัง - ศศม. - .อสม.

การพัฒนาขีดความสามารถ/ความพร้อมเพื่อรองรับหากมีการระบาด 1.ซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ และร่วมกับทีม IC ในการซ้อมแผนไข้หวัด/ไข้หวัดใหญ่ 2009 2. มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร เรื่องโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่เกิด 3.ประชาสัมพันธ์แก่ประชาชน 3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเมื่อเกิดการระบาด สรุปการดำเนินงานที่ผ่านมา จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าเจ้าหน้าที่ยังไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางได้ถูกต้องเนื่องจากไม่ได้เข้าร่วมซ้อมแผน โอกาสพัฒนาต้องมีการประเมินเจ้าหน้าที่ทุกคน

สรุปการดำเนินงานที่ผ่านมา **เจ้าหน้าที่ยังไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางได้ถูกต้อง** เนื่องจากไม่ได้เข้าร่วมซ้อมแผน โอกาสพัฒนาต้องมีการประเมินเจ้าหน้าที่ทุกคน

บทเรียนเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ในการเฝ้าระวัง บทเรียนเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ในการเฝ้าระวัง ตัวชีวัด เป้าหมาย 2555 2556 1. ความครบถ้วนของการรายงาน รง.506 100 % 37 % 57 % สาเหตุ เกิดจากมีจำนวนโรคที่ต้องรายงานมาก แก้ไข ทำคู่มือรายงาน 506 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โอกาสพัฒนา 1. เจ้าหน้าที่ 2. สื่อสาร ในปี 2557ให้ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่ทุกราย

บทเรียนจากการเฝ้าระวังการระบาดของโรค และภัยสุขภาพใน 1-2 ปีที่ผ่านมา ในปี 2555 โรคไวรัสตับอักเสบชนิด เอ ปัญหาที่พบ 1.จำนวนผู้ป่วย 2. การเข้าถึงบริการ 3.ร้องเรียน แก้ไข 1.การประชุมคณะกรรมการที่รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. แนวทางการดูแลผู้ป่วย 3.การจัดจุดคัดกรองผู้ป่วยตับอักเสบเอ แยกจากการคัดกรองทั่วไป 3.ติดป้ายประชาสัมพันธ์

การตอบสนองต่อการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ 1.การประเมินความทันต่อสถานการณ์ในการสอบสวนโรคสำคัญ ตัวชีวัด เป้าหมาย 2555 2556 2.ความทันเวลาของการรายงาน รง.506 100

2.การประเมินความสามารถในการหยุดยั้งการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ จากการระบาดของโรคไวรัสตับอักเสบเอใน ปี 2555 มีการระบาดอยู่ 2 ระยะ ซึ่งทำให้ทราบว่าการควบคุมการระบาดไม่ได้ผล สาเหตุ 1.war room ช้า ทำให้ค้นหาผู้ป่วยรายแรกได้ล่าช้า 2.หาสาเหตุของการเกิดโรคได้ไม่ชัดเจน จึงทำให้ไม่สามารถที่จะลงไปควบคุมการระบาดได้ทันเวลา ทำให้มีการขยายวงกว้างออกมาหลายอำเภอในเขตจังหวัดบึงกาฬ

ประเด็นในแผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า มีการประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนภัย - งานประชาสัมพันธ์ของโรงพยาบาลโดยให้ความรู้ช่วง 12.30 น. เป็นประจำ - เปิดตามหอกระจายข่าวของหมู่บ้าน 2.การเดินรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป โรงเรียน วัด 1.พัฒนาการกำกับดูแล ให้บุคลากรมีความร่วมมืออย่างยั่งยืน 2.พัฒนาการวิเคราะห์ข้อมูล และการเฝ้าระวัง 3.พัฒนาระบบการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการควบคุมการระบาดของโรค การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและเตือนภัย ประเด็นในแผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า

จบแล้วค่ะ