ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI) เป็นตัวแปรที่สามารถใช้วัดผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานแต่ละด้านขององค์การให้ออกมาเป็น ตัวเลขที่ชัดเจน โดยสามารถสะท้อนให้เห็นทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ เพื่อบอกว่าองค์การ บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ ประเภทตัวชี้วัด (KPI) ใน RBMS ตัวชี้วัดผลผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ หรือ ประสิทธิผล ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า KPI ต้องสั้น เข้าใจง่าย และเน้นที่วัตถุประสงค์หลัก KPI ต้องมีความหมายและเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง KPI ต้องสามารถวัดได้ทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ KPI สามารถคำนวณได้โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานจากการนับ วัด หรือแบบ สอบถาม
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน แบ่งเป็น 4 มิติ การปฏิบัติวิจัย (Research) ความสามารถในการวิจัยและพัฒนาที่นำมาใช้ได้จริง ประสิทธิผล (Effectiveness) ความสามารถในการปฏิบัติ งานในภารกิจหลัก ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร เมื่อเทียบกับผลผลิตที่ทำได้ การให้บริการ (Customer Service) ความสามารถในการให้บริการที่สะดวก รวดเร็ว เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการ
ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพ (Efficiency KPls)
ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผล (Effectiveness KPls)
ตัวชี้วัดด้านการให้บริการ (Customer Service KPls)
ตัวชี้วัดด้านการปฏิบัติวิจัย (Research KPls)
สถิติสำคัญ คือ ข้อมูลพื้นฐานที่แสดงถึงขอบเขตความรับผิดชอบ สถานภาพ และการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์กร) ข้อมูลสถิติโดยทั่วไป ได้แก่ ประชากร ทรัพยากรสาธารณสุข บริการสาธารณสุข ข้อมูลสถานะสุขภาพ ได้แก่ สถิติชีพ การสำรวจสภาวะสุขภาพ ข้อมูลสถานะของการทำงานในกระบวนงานหลัก ได้แก่ จำนวนงานเข้าออก ในแต่ละประเภทงาน จำนวนงานที่อยู่ระหว่างดำเนินงานในแต่ละประเภทงาน (งานค้าง)
จัดทำรายละเอียด KPI ที่กำหนด ชื่อตัวชี้วัด ความหมายของตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ที่กำหนดให้มีตัวชี้วัดนี้ ประโยชน์ที่ได้รับ สูตรการคำนวณ การหาค่าตัวแปร ในแต่ละ KPI ค่าของตัวชี้วัดที่คำนวณได้ แหล่งที่มาของข้อมูล เก็บจากหน่วยงานไหน ใครเป็น ผู้รับผิดชอบข้อมูล