บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม (Circular Permutation)
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
บทที่ 4 การจำลองแบบทางคณิตศาสตร์
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
ลักษณะการทำงานของ Stack
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Association Abstraction
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
Function and Their Graphs
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
Quantitative Analysis for Logistics Management
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
สหสัมพันธ์ (correlation)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
เทคนิคบิกเอ็ม เพลิฬ สายปาระ.
กำหนดการเชิงเส้น PLERN SAIPARA RMUTL.
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
กระบวนการวิจัย Process of Research
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
Wattanapong suttapak SE, ICT University of Phayao.
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล

จากแนวคิดของ ปัญหากำหนดการเชิงเส้นทุกปัญหาสามารถเขียนให้อยู่ในรูปที่มีลักษณะตรงกันข้ามกันได้เสมอ ตัวแบบเดิม คือ ตัวแบบเริ่มต้น (Primal) ตัวแบบที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับตัวแบบเดิม คือ ตัวแบบควบคู่ (Dual) การหาคำตอบจากตัวแบบเดิม และตัวแบบควบคู่จะได้คำตอบที่เหมาะสมของทั้งสองปัญหาเป็นคำตอบเดียวกัน

ความสัมพันธ์ของปัญหาเดิมและปัญหาควบคู่ 1. สมการเป้าหมายมีลักษณะตรงข้ามกัน จากเดิม Min >> Max ในตัวแบบควบคู่ จากเดิม Max >> Min ในตัวแบบควบคู่ 2. ข้อจำกัดของตัวแบบเดิม จะสอดคล้องกับแต่ละตัวแปรในตัวแบบควบคู่ จำนวนข้อจำกัดของตัวแบบเดิม = จำนวนตัวแปรในตัวแบบควบคู่ จำนวนตัวแปรในตัวแบบเดิม = จำนวนข้อจำกัดในตัวแบบควบคู่ 3. ค่าคงที่ขวามือของข้อจำกัดในตัวแบบเดิม จะเป็นสัมประสิทธิ์ของตัวแปรควบคู่ในสมการเป้าหมาย 4. สัมประสิทธิ์ของตัวแปรในสมการเป้าหมายเดิม จะเป็นค่าคงที่ขวามือของข้อจำกัดในตัวแบบควบคู่

ความสัมพันธ์ของตัวแบบเดิมและตัวแบบควบคู่ 5. ตัวแบบที่ต้องการหาค่าสูงสุด(Max.) จะต้องมีข้อจำกัดอยู่ในรูป <= ตัวแบบที่ต้องการหาค่าต่ำสุด(Min.) จะต้องมีข้อจำกัดอยู่ในรูป >= 6. สัมประสิทธิ์ของตัวแปรตามแถวตั้งของตัวแบบเริ่มต้น จะเป็นสัมประสิทธ์ของตัวแปรตามแถวนอนของตัวแบบคู่กัน โดยที่แถวตั้งแรกของตัวแบบเริ่มต้น จะเป็นแถวนอนแรกของตัวแบบควบคู่ (aij กลายเป็น aji) 7. ตัวแปรของตัวแบบเดิมและตัวแบบควบคู่จะต้องไม่เป็นลบ

จงเขียนตัวแบบควบคู่จากตัวแบบเดิม หาค่าสูงสุดของ Max Z = 5X1 + 6X2 ข้อจำกัด X1 + 9X2 <= 60 2X1+ 3X2 <= 45 5X1 - 2X2 <= 20 X2 <= 30 X1, X2 >=0

ตัวแบบเดิม หาค่าสูงสุดของ Max Z = 5X1 + 6X2 ข้อจำกัด X1 + 9X2 <= 60 Y1 2X1+ 3X2 <= 45 Y2 5X1 - 2X2 <= 20 Y3 X2 <= 30 Y4 X1, X2 >=0

ตัวแบบควบคู่ คือ หาค่าต่ำสุด Min. W = 60Y1 + 45Y2 + 20Y3 + 30Y4 ข้อจำกัด Y1+2Y2+5Y3 >= 5 9Y1+3Y2-2Y3+ Y4 >= 6 Y1,Y2,Y3,Y4 >= 0

กรณี ที่ข้อจำกัดมีเครื่องหมายต่างกัน ตัวแบบเริ่มต้น Max. Z = 5X1 + 7X2 + 2X3 ข้อจำกัด 2X1 + X2 - 6X3 <= 30 6X1- 4X2 + 10X3 >= 10 X1 + 2X2 + 4X3 = 40 X1, X2,X3 >= 0

ในกรณีที่ตัวแบบเริ่มต้นมีข้อจำกัดที่มีเครื่องหมายต่างกัน จะต้องเปลี่ยนตัวแบบเริ่มต้น ให้เป็นตัวแบบเริ่มต้นที่มีข้อจัดที่มีเครื่องหมายเดียวกัน 1. ฟังก์ชันข้อจำกัดที่ 1 มีเครื่องหมาย <= อยู่แล้วไม่ต้องแก้ไข เนื่องจากตัวอย่างนี้เป็นตัวแบบที่ต้องการหาค่าสูงสุด(Max.) จะต้องมีข้อจำกัดอยู่ในรูป <= 2. ฟังก์ชันข้อจำกัดที่ 2 เปลี่ยนแครื่องหมายให้อยู่ในรูป <= โดยเอา -1 คูณตลอด จะได้อสมการใหม่ดังนี้ -6X1+ 4X2 - 10X3 <= -10

3. ฟังก์ชันข้อจำกัดที่ 3 มีครื่องหมาย = สามารถเขียนเป็นอสมการ 2 ฟังก์ชันโดยที่มีเครื่องหมายอสมการตรงข้ามกันคือ X1 + 2X2 + 4X3 >= 40 และ X1 + 2X2 + 4X3 <= 40 เปลี่ยนเครื่องหมาย >= ให้เป็นเครื่องหมาย <= ทำได้โดยเอา -1 คูณตลอดจะได้ -X1 - 2X2 - 4X3 <= -40

เมื่อเปลี่ยนเครื่องหมายเสร็จแล้ว เราจะได้ตัวแบบเริ่มต้นอันใหม่ที่ปรับเงื่อนไขให้เป็น <= ทุกอันได้ดังนี้ Maximize Z = 5X1 + 7X2 + 2X3 ข้อจำกัด 2X1 + X2 - 6X3 <= 30 -6X1 + 4X2 - 10X3 <= -10 X1 + 2X2 + 4X3 <= 40 (เอาอสมการที่เป็น + ขึ้นก่อนเสมอ) -X1 - 2X2 - 4X3 <= -40 X1, X2, X3 >= 0 Y1 Y2 Y3+ Y3-

เปลี่ยนเป็นตัวแบบควบคู่จะได้ดังนี้ Minimize W = 30Y1 -10Y2 + 40Y3+ - 40Y3- ข้อจำกัด 2Y1- 6Y2 + Y3+ - Y3- >= 5 Y1+ 4Y2 + 2Y3+ - 2Y3- >= 7 -6Y1-10Y2+ 4Y3+- 4Y3- >= 2 Y1,Y2, Y3+, Y3- >= 0

จากนั้นจัดตัวแบบควบคู่จะได้ Minimize W = 30Y1 -10Y2 + 40(Y3+ - Y3-) ข้อจำกัด 2Y1- 6Y2 + (Y3+- Y3-) >= 5 Y1+ 4Y2 + 2(Y3+- Y3-) >= 7 -6Y1-10Y2 + 4(Y3+- Y3-) >= 2 Y1,Y2, Y3+, Y3- >= 0

ถ้าให้ Y3 = (Y3+- Y3-) โดยที่ Y3 มีค่าใดๆก็ได้ จากความสัมพันธ์ดังกล่าวสามารถเขียนเป็นตัวแบบควบคู่จะได้ดังนี้ Minimize W = 30Y1 -10Y2 + 40Y3 ข้อจำกัด 2Y1 - 6Y2 + Y3 >= 5 Y1 + 4Y2 + 2Y3 >= 7 -6Y1 - 10Y2 + 4Y3 >= 2 Y1,Y2 >= 0 และY3 มีค่าใดๆก็ได้ หรือไม่มีขอบเขต