บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
ระบบการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
Network Model Signal and Data transmission
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ENCODER.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
Telecom. & Data Communications
Personal Area Network (PAN)
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
SCADA.
ICT+ Introduction to Networks ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห์
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ราคา ถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ จำกัด ความเร็ว ในกรณีเป็นสาย แบบไม่มีชีลด์ ก็ จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ERROR (Data Link Layer)
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
หลักการบันทึกเสียง.
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals) อ.พรชัย พันธุ์วิเศษ

ชั้นสื่อสารฟิสิคัล ทำการเคลื่อนย้ายข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของสัญญาณผ่านสื่อกลาง ข้อมูลชนิดตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวจะไม่สามารถส่งผ่านระบบสื่อสารได้โดยตรง

สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสาร กระแสไฟฟ้า (Electric) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นแสง

ข้อมูลแอนะล็อกและสัญญาณแอนะล็อก (Analog Data and Analog Signals) เป็นรูปคลื่นที่มีลักษณะต่อเนื่อง (Continuous Waveforms) เช่น เสียงพูดของมนุษย์ เสียงดนตรี หรือเสียงอื่น ๆ ที่ได้ยินตามธรรมชาติ สามารถถูกรบกวนได้ง่ายจากสัญญาณที่ไม่พึงประสงค์ที่เรียกว่า “สัญญาณรบกวน (Noise)”

ข้อมูลดิจิตอลและสัญญาณดิจิตอล (Digital Data and Digital Signals) เป็นคลื่นแบบไม่ต่อเนื่อง มีรูปแบบของระดับแรงดันไฟฟ้าเป็นคลื่นสี่เหลี่ยม (Square Wave) ความไม่ต่อเนื่องหมายความว่า สัญญาณสามารถเปลี่ยนแปลงจาก 0 ไป 1 หรือจาก 1 ไป 0 ได้ทุกเมื่อ

ข้อดี-ข้อเสีย ของสัญญาณดิจิตอล ข้อดี สร้างสัญญาณขึ้นได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า มีความทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดีกว่า จำแนกระหว่างข้อมูลกับสัญญาณรบกวนได้ง่ายกว่า แบบแอนะล็อก ข้อเสีย สัญญาณจะถูกลดทอนหรือเบาบางลง เมื่อส่งในระยะทางไกล ๆ การส่งข้อมูลระยะไกลนั้นสัญญาณแอนะล็อกจะทำได้ดีกว่า

หน่วยวัดความเร็วในการส่งข้อมูล อัตราบิตคือ จำนวนที่บิตที่สามารถส่งได้ภายในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีหน่วยเป็นบิตต่อวินาที (bit per second: bps)

การแปลงข้อมูลให้เป็นสัญญาณ (Converting Data into Signals) อุปกรณ์ที่ใช้งาน ใช้งานบนระบบ Analog Radio Tuner TV Tuner Telephone Cable TV Broadcast TV AM and FM Radio Digital Digital Encoder Local Area Networks Digital Telephone Systems Modem Home Internet Access Codec Voice Mail Video Conference

สัญญาณรบกวน (Noise) Thermal Noise เป็นสัญญาณรบกวนที่เกิดจากความร้อน เนื่องจาก สัญญาณที่วิ่งผ่านสื่อกลางจะมีความต้านทานในตัวเอง ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น Impulse Noise เป็นสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นแบบทันทีทันใด ซึ่งอาจ เกิดจากฟ้าแลบ ฟ้าผ่า Crosstalk เป็นสัญญาณรบกวนที่เกิดจากการเหนี่ยวนำของ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเฉพาะสายสัญญาณที่มีการนำมามัดรวมกัน

Thank you