กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์ไม้ยาง(Dipterocarpacea) บางชนิดในประเทศไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคอมพิวเตอร์.
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
การทำขนมโค สมาชิกในกลุ่ม นายอุดมศักดิ์ โยมา นายราเมศ บุษบา
สูตรลับจากธรรมชาติใกล้ตัว
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Laboratory in Physical Chemistry II
สบู่สมุนไพร.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ผักกาดดองจ๊า.
Cell Specialization.
สารกัดกร่อน.
หลักสำคัญในการล้างมือ
สไลด์การสาธิตการทำ Cellulose Acetate Electrophoresis
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
การขยายพันธุ์เฟิน วสุ อมฤตสุทธิ์ วิชาหลักการขยายพันธ์พืช
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
การทำแผ่นวงจรพิมพ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ นายศรายุทธ คงตา Tel
เครื่องดูดฝุ่น.
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
************************************************
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 8 1. นายชนัตชัย ศรีสมาน รหัส
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
โครงงานวิทยาศาสตร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์ไม้ยาง(Dipterocarpacea) บางชนิดในประเทศไทย

วิธีการทดลอง 1. วิธีการลอกผิวใบ 1. วิธีการลอกผิวใบ 1.1 นำชิ้นตัวอย่างแผ่นใบมาล้างด้วยน้ำสะอาด ขูดด้านที่ไม่ต้องการออกด้วยใบมีดโกน นำด้านที่ต้องการไปล้างด้วยน้ำ 1.2 แช่ตัวอย่างในแอลกอฮอล์ 30%,50%และ70% แล้วนำชิ้นตัวอย่างย้อมด้วยซาฟานินเข้มข้น 1% ที่ละลายในแอลกอฮอล์ 70%นานถึง 1-3 วัน 1.3 ย้ายชิ้นตัวอย่างไปแช่ในแอลกอฮอล์ 70%,90%,100% และ100% ที่ผสมกับไซลีน นาน 10 นาที่ และผนึกสไลด์ด้วย DePeX

2. ทำให้แผ่นใบใส 2.1 นำชิ้นตัวอย่างแผ่นใบมาล้างด้วยน้ำสะอาด ตัดแบ่งตัวอย่างให้มีขนาดประมาณ 1×1 เซนติเมตร นำไปแช่ในสารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้น 5-10% เป็นเวลา 15-30 วัน 2.2 ย้ายตัวอย่างไปแช่ในน้ำยาฟอกขาว 6% เป็นเวลา 20-30 นาที จนชิ้นตัวอย่างใส ล้างตัวอย่างด้วยน้ำสะอาดจนหมดฤทธิ์ด่าง 2.3 แช่ตัวอย่างในแอลกอฮอล์ 30%,50%และ70% แล้วนำชิ้นตัวอย่างย้อมด้วยซาฟานินเข้มข้น 1% ที่ละลายในแอลกอฮอล์ 70%นานถึง 3-4 วัน 2.4 ย้ายชิ้นตัวอย่างไปแช่ในแอลกอฮอล์ 70%,95% ,100% และ100% ที่ผสมกับไซลีน นาน 10 นาที่ และผนึกสไลด์ด้วย DePeX

ผลและวิจารณ์การทดลอง 1. เซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิว 1.1 กลุ่มที่มีเซลล์รูปร่างสี่เหลี่ยมถึงหลายเหลี่ยม 1.2 กลุ่มที่มีรูปร่างกลมหรือรีปนกับรูปร่างสี่เหลี่ยมถึงหลายเหลี่ยม 2. ปากใบ 2.1 ชนิดของปากใบ - แบบไซโคลไซติก - แบบไซโคลไซติก และเฮกซะไซติก - แบบพาราไซติก

3. ขน 2.2 ต่ำแหน่งที่พบปากใบ - มีปากใบทั้งที่ผิวด้านบนและด้านล่าง - มีปากใบทั้งที่ผิวด้านบนและด้านล่าง - มีปากใบเฉพาะด้านล่าง 3. ขน 3.1 ขนเซลล์เดียว 3.2 ขนหลายเซลล์ 3.3 ขนรูปโล่ 3.4 ขนรูปดาว 3.5 ขนต่อม

4. ผลึก 5. สารสะสม 4.1 ผลึกรูปดาว 4.2 ผลึกรูปปริซึม 5.1 แทนนิน 4.1 ผลึกรูปดาว 4.2 ผลึกรูปปริซึม 5. สารสะสม 5.1 แทนนิน 5.2 เซลล์หลั่งที่บริเวณปลายเส้นใบและมีโซฟิลล์ 5.3 ท่อน้ำมันยาง

เนื้อเยื่อชั้นผิวของวงศ์ไม้ยางบางชนิด D. tuberculatas H. odorata D. turbinatus S. siamensis

V. harmandiana V. ambonata S. obtusa S. assamica

S. assamica S. assamica V. harmandiana V. ambonata

C. lanceolatum V. harmandiana S. henryana S. assamica

นำเสนอโดย นางสาว สือก๊ะ มะตาเห นำเสนอโดย นางสาว สือก๊ะ มะตาเห ขอขอบคุณค่ะ