กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์ไม้ยาง(Dipterocarpacea) บางชนิดในประเทศไทย
วิธีการทดลอง 1. วิธีการลอกผิวใบ 1. วิธีการลอกผิวใบ 1.1 นำชิ้นตัวอย่างแผ่นใบมาล้างด้วยน้ำสะอาด ขูดด้านที่ไม่ต้องการออกด้วยใบมีดโกน นำด้านที่ต้องการไปล้างด้วยน้ำ 1.2 แช่ตัวอย่างในแอลกอฮอล์ 30%,50%และ70% แล้วนำชิ้นตัวอย่างย้อมด้วยซาฟานินเข้มข้น 1% ที่ละลายในแอลกอฮอล์ 70%นานถึง 1-3 วัน 1.3 ย้ายชิ้นตัวอย่างไปแช่ในแอลกอฮอล์ 70%,90%,100% และ100% ที่ผสมกับไซลีน นาน 10 นาที่ และผนึกสไลด์ด้วย DePeX
2. ทำให้แผ่นใบใส 2.1 นำชิ้นตัวอย่างแผ่นใบมาล้างด้วยน้ำสะอาด ตัดแบ่งตัวอย่างให้มีขนาดประมาณ 1×1 เซนติเมตร นำไปแช่ในสารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้น 5-10% เป็นเวลา 15-30 วัน 2.2 ย้ายตัวอย่างไปแช่ในน้ำยาฟอกขาว 6% เป็นเวลา 20-30 นาที จนชิ้นตัวอย่างใส ล้างตัวอย่างด้วยน้ำสะอาดจนหมดฤทธิ์ด่าง 2.3 แช่ตัวอย่างในแอลกอฮอล์ 30%,50%และ70% แล้วนำชิ้นตัวอย่างย้อมด้วยซาฟานินเข้มข้น 1% ที่ละลายในแอลกอฮอล์ 70%นานถึง 3-4 วัน 2.4 ย้ายชิ้นตัวอย่างไปแช่ในแอลกอฮอล์ 70%,95% ,100% และ100% ที่ผสมกับไซลีน นาน 10 นาที่ และผนึกสไลด์ด้วย DePeX
ผลและวิจารณ์การทดลอง 1. เซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิว 1.1 กลุ่มที่มีเซลล์รูปร่างสี่เหลี่ยมถึงหลายเหลี่ยม 1.2 กลุ่มที่มีรูปร่างกลมหรือรีปนกับรูปร่างสี่เหลี่ยมถึงหลายเหลี่ยม 2. ปากใบ 2.1 ชนิดของปากใบ - แบบไซโคลไซติก - แบบไซโคลไซติก และเฮกซะไซติก - แบบพาราไซติก
3. ขน 2.2 ต่ำแหน่งที่พบปากใบ - มีปากใบทั้งที่ผิวด้านบนและด้านล่าง - มีปากใบทั้งที่ผิวด้านบนและด้านล่าง - มีปากใบเฉพาะด้านล่าง 3. ขน 3.1 ขนเซลล์เดียว 3.2 ขนหลายเซลล์ 3.3 ขนรูปโล่ 3.4 ขนรูปดาว 3.5 ขนต่อม
4. ผลึก 5. สารสะสม 4.1 ผลึกรูปดาว 4.2 ผลึกรูปปริซึม 5.1 แทนนิน 4.1 ผลึกรูปดาว 4.2 ผลึกรูปปริซึม 5. สารสะสม 5.1 แทนนิน 5.2 เซลล์หลั่งที่บริเวณปลายเส้นใบและมีโซฟิลล์ 5.3 ท่อน้ำมันยาง
เนื้อเยื่อชั้นผิวของวงศ์ไม้ยางบางชนิด D. tuberculatas H. odorata D. turbinatus S. siamensis
V. harmandiana V. ambonata S. obtusa S. assamica
S. assamica S. assamica V. harmandiana V. ambonata
C. lanceolatum V. harmandiana S. henryana S. assamica
นำเสนอโดย นางสาว สือก๊ะ มะตาเห นำเสนอโดย นางสาว สือก๊ะ มะตาเห ขอขอบคุณค่ะ