การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์
Advertisements


NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact: TRAINING Dept. BOOK PROMOTION & SERVICE CO., LTD. Update Latest 23/04/51.
JSTOR Archive Collections JSTOR Archive Collections
Education Research Complete
Nursing Resources Center
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
ทรัพยากรสารสนเทศ.
Online Public Access Catalog
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
User’s guide. Emerald Fulltext เป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Pressเป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Press ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996.
การเตรียมข้อมูลสำหรับจัดซื้อหนังสือ
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การบริหารงานของห้องสมุด
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แผนกบริการสารสนเทศ KM ขึ้นชั้น Cops Jigsaw ครั้งที่ 1/2553.
Emerald Management eJournals
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสื่อ (Media) ที่ใช้บรรจุสารสนเทศ
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง (Reference Books)
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
ฐานข้อมูล Science Direct

ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
รายงานการศึกษาค้นคว้า
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
การดำเนินงานในห้องสมุดเฉพาะ
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนองาน
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
Knovel E-Books Database.
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การดำเนินงานในห้องสมุดเฉพาะ
โครงสร้างของภาษา HTML
การเขียนรายงานทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. อนุรักษ์ พรมเลข ศึกษานิเทศก์ สพป. ชร 2

ทรัพยากรห้องสมุด สื่อ หรือ วัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ อาจเก็บได้ ในหลายรูปแบบในการบันทึก มีทั้งตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ และเสียง ทรัพยากรห้องสมุด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

ขั้นตอนการลงรายการทรัพยากรห้องสมุด เมื่อได้รับหนังสือเข้ามาในห้องสมุดบรรณารักษ์ ต้อง ดำเนินการดังนี้ - ตรวจสอบกับฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด - ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลถูกต้องหรือไม่ - ลงรายการทางบรรณานุกรม - พิมพ์ป้ายติดสันหนังสือ - จัดทำบรรณานุกรมใหม่ - จัดนิทรรศการ / ประชาสัมพันธ์หนังสือใหม่

ส่วนต่างๆ ของหนังสือ ปกนอก ปกใน หน้าลิขสิทธิ์ คำนำ สารบัญ บทนำ ปกนอก ปกใน หน้าลิขสิทธิ์ คำนำ สารบัญ บทนำ บรรณานุกรม ภาคผนวก

การกำหนดเลขเรียกหนังสือ

การกำหนดเลขเรียกหนังสือ เลขหมู่ ตามการแบ่งหนังสือด้วยระบบ ดิวอี้ ได้แก่เลขหมู่ 000 – 999 รวมทั้งอักษรแทนเลขหมู่หนังสือบางประเภท เช่น - นวนิยาย ใช้อักษรแทนเลขหมู่ น - รวมเรื่องสั้น ใช้อักษรแทนเลขหมู่ รส - หนังสือสำหรับเด็ก ใช้อักษรแทนเลขหมู่ ภ

การกำหนดเลขเรียกหนังสือ เลขหนังสือ เป็นเครื่องหมายประจำหนังสือเพื่อช่วยในการจดจำ ช่วยในการจัดเก็บ และค้นหา ได้รวดเร็วขึ้น ประกอบด้วย - อักษรผู้แต่ง - เลขผู้แต่ง - อักษรชื่อเรื่อง

การกำหนดเลขเรียกหนังสือ 1. พยัญชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่ง 2. รูปพยัญชนะ หรือรูปสระใด เกาะติดพยัญชนะตัวแรก 3. ผู้แต่งเป็นคณะ/สำนักพิมพ์ใช้ชื่อหนังสือ

ตารางกำหนดเลขผู้แต่ง ภาษาไทย (มธ) อักษรตัวที่ 2 ใช้เลข อักษรย่อ 1 ก ข ซ ค ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ 2 ฐ ฑ ฒ ฌ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ 3 พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ภ ภา 4 ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ 5 ะ - ั ั- ะ า ำ ิ ี ึ 6 ื ุ ู เ- เ-ะ เ-า เ-าะ เ- ิ 7 เ- ี เ- ีะ เ- ื เ- ืะ แ- แ-ะ 8 โ- โ-ะ ใ- ไ- 9

การกำหนดเลขเรียกหนังสือ ชื่อผู้แต่ง/หนังสือ การพิจารณา ผลที่ได้ ว.วชิรเมธี ว/อักษรย่อ/ว ว15 ศิริวรรณ ศ/อิ ศ7 สามก๊ก ส/อา ส6 เครือวัลย์ ค/ร ค4 ธรรมชาติเพื่อสุขภาพ ธ/ร ธ4 ผู้การเรือเร่ ผ/อู ผ7

การกำหนดเลขเรียกหนังสือ ส่วนประกอบเพิ่มเติม - สัญญาลักษณ์พิเศษ - บอกเนื้อหา - ปีที่พิมพ์

หลักการกำหนดเลขหมู่ จัดหมวดหมู่ตามเนื้อหาวิชาเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นจึง พิจารณารูปแบบการเขียน ให้เลขหมู่ตรงกับเนื้อหาวิชามากที่สุด และครอบคลุมเนื้อหา ทั้งหมด หนังสือบันเทิงคดีบางประเภทไม่ต้องให้เลขตามระบบดิวอี้ สามารถใช้อักษรพิเศษแทนได้

ขั้นตอนการกำหนดเลขหมู่ ตรวจสอบรายการหนังสือของห้องสมุดว่าเคยมีหรือไม่ - ให้ต่อเลขฉบับซ้ำ ( ฉ ) เมื่อเป็นเรื่องเดียวกัน - พิมพ์ ปีต่างกันใช้เลขหมู่เดิม เปลี่ยนปี พศ. แยกหนังสือเป็นหมวดๆ อ่านเนื้อหาและพิจารณา ระบุหมวดหมู่ สำหรับการติด/เขียนเลขเรียกหนังสือนั้น ขอแนะนำให้ใช้ ขนาด A 8  25 X 38 mm

Dewey Decimal Classification เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) ชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดระบบนี้ขึ้นในขณะที่เป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์ เรียกย่อ ๆ ว่าระบบ D.C. หรือ D.D.C เป็นระบบการจัดหมู่ที่นิยมใช้แพร่หลายที่สุดระบบหนึ่ง

หมวดใหญ่ (Classes)

หมวดย่อย (Division) การแบ่งครั้งที่ 2 คือการแบ่งหมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็น 10 หมวดย่อย รวมเป็น 100 หมวดย่อย โดยใช้ตัวเลขหลักสิบแทนสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น 000 เบ็ดเตล็ดหรือความรู้ทั่วไป 010 บรรณานุกรม 020 บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ 030 สารานุกรมไทยทั่วไป 040 ความเรียงทั่วไป 050 วารสารทั่วไป

หมู่ย่อย (Section) การแบ่งครั้งที่ 3 คือการแบ่งหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็น 10 หมู่ย่อย รวมเป็น 1,000 หมู่ย่อย โดยใช้เลขหลักหน่วยแทนสาขาวิชา ตัวอย่างหมวดย่อย 330 แบ่งออกเป็นหมู่ย่อยดังนี้ 330 เศรษฐศาสตร์ 331 เศรษฐศาสตร์แรงงาน 332 เศรษฐศาสตร์การเงิน 333 เศรษฐศาสตร์ที่ดิน 334 สหกรณ์

จุดทศนิยม การแบ่งครั้งที่ 4 จากการแบ่งเป็นหมู่ย่อยหรือการแบ่งครั้งที่ 3 ยังสามารถแบ่งให้ละเอียดออกไปได้โดยใช้จุดทศนิยม เพียงระบุเนื้อหาวิชาเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างหมู่ย่อย 332 แบ่งออกเป็นจุดทศนิยมดังนี้ 332 เศรษฐศาสตร์การเงิน 332.1 ธนาคารและการธนาคาร 332.11 ธนาคารกลางของประเทศ ธนาคารแห่งชาติ 332.12 ธนาคารพาณิชย์ 332.178 บริการพิเศษ เช่น บัตรเครดิต

1 2 3 . 4 5 6 รูปแบบ จุดทศนิยม หมู่ย่อย (Section) หมวดย่อย (Division) หมวดใหญ่ (Classes)

ฝึกปฏิบัติ

ฝึกปฏิบัติ

Thank you