การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร วิชาภาษาไทยพื้นฐาน การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
๑.ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสาร หมายถึง การนำเรื่องราวต่างๆ ทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึกไปสู่จุดหมายปลายทางที่ต้องการ โดยใช้เครื่องนำวิธีใดวิธีหนึ่ง จนเกิดการรับรู้เรื่องราวและเกิดการตอบสนองไปมา
๒.องค์ประกอบของการสื่อสาร ผู้ส่งสาร
สาร ความคิดเห็น ความรู้สึก ข้อเท็จจริง
สื่อหรือช่องทางการสื่อสาร
ผู้รับสาร
๓. ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ปัจจัยสำคัญของการสื่อสาร คือ ภาษา ซึ่งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี ๒ ประเภท ได้แก่
๓.๑ วัจนภาษา ภาษาที่แสดงออกด้วยการใช้ถ้อยคำ ซึ่งได้แก่ ภาษาพูด และ ภาษาเขียน
ภาษาพูด
ภาษาเขียน
๓.๒ อวัจนภาษา ภาษาที่ไม่ได้สื่อสารกันด้วยภาษาพูด และภาษาเขียน เช่น
อาการภาษา ยิ้ม พยักหน้า โบกมือ
การต่อตรงเวลา,การผิดนัด กาลภาษา การต่อตรงเวลา,การผิดนัด
เทศภาษา การเลือกสถานที่
สัมผัสภาษา
เนตรภาษา
วัตถุภาษา
เสียงสูง เสียงต่ำ เสียงทุ้ม พูดช้า-เร็ว บริภาษา เสียงสูง เสียงต่ำ เสียงทุ้ม พูดช้า-เร็ว
๔. การใช้ถ้อยคำและสำนวน คำพูดที่มุนษย์ใช้สื่อสารกันทั้งใน ด้านกิจธุระ การประกอบอาชีพ และการ ดำรงชีวิต
ความหมายของคำ แยกพิจารณาได้ ๒ ประการคือ ๑. ความหมายเฉพาะ ๒. ความหมายเมื่อเทียบกับคำอื่น
๑. ความหมายเฉพาะ ความหมายตามตัว เช่น ครูกวางแกงเค็มไปหน่อย ความหมายเชิงอุปมา เช่น ครูกวางเค็มไปหน่อย
๑. ความหมายเฉพาะ ความหมายตรง เช่น อะตอมเป็นเสือผู้หญิง เช่น อะตอมเป็นเสือผู้หญิง ความหมายนัยประหวัด เช่น อะตอมเจ้าชู้ รู้สึกกว่า
๒.ความหมายเมื่อเทียบกับคำอื่น ความหมายเหมือนกัน “คำไวพจน์” เช่น นที วารี ชลาชล
ความหมายตรงกันข้าม สกปรก สะอาด
ความหมายตรงกันข้าม สวย ขี้เหร่
คำที่มีความหมายครอบคลุมคำอื่น โถส้วม ฝักบัว ที่วางสบู่ อ่างล้างหน้า เครื่องสุขภัณฑ์
ระดับภาษา ภาษาระดับทางการ เช่น การให้โอวาท ภาษาระดับกึ่งทางการ เช่น ข่าวทั่วไป ภาษาระดับไม่เป็นทางการ เช่น ภาษาถิ่น