การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ผลผลิตเกษตร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554 สำนักงานเกษตรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

เป้าหมายการจัดการความรู้ ปี 2554 การพัฒนาองค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน การขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน การผลิตสับปะรดและมะพร้าวตามระบบ GAP การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านสารสนเทศ

องค์ความรู้ที่จำเป็น เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ ตัวชี้วัดตามคำรับรอง แผนการจัดการความรู้ แผน งานตามยุทธศาสตร์ องค์ความรู้ที่จำเป็น เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ ตัวชี้วัดตามคำรับรอง 1 การพัฒนาองค์การเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน การพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน กระบวนการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ทั้งในด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ตลอดจนการผลิตและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ เกษตรกร จำนวน 393 ราย ได้รับการพัฒนาความรู้ทางการเกษตรเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ 2 การขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมหมู่บ้านต้นแบบการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หมู่บ้านต้นแบบด้านการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สามารถเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แก่เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไปที่เข้าถึงการเรียนรู้ได้ง่าย เห็นของจริง และเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มีคุณภาพ : เกษตรกรกรเรียนรู้การเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 160 ราย

เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ ตัวชี้วัดตามคำรับรอง แผน งานตามยุทธศาสตร์ องค์ความรู้ ที่จำเป็น เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ ตัวชี้วัดตามคำรับรอง 3 การส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ความต้องการด้านการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยของผู้บริโภค ทำให้เกษตรกรต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตพืชสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาด ร้อยละ 90 ของเกษตรกรจำนวน 1,200 ราย ที่ทำการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีการผลิตสินค้าเกษตรได้อย่างปลอดภัยและ/หรือมีประสิทธิภาพตามระบบคุณภาพ GAP พืช 4 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสับปะรดและมะพร้าว การป้องกันกำจัดศัตรูมะพร้าว การระบาดของแมลงศัตรูมะพร้าวในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีความรุนแรงส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตมะพร้าวที่ลดลงและรายได้ของเกษตรกร ซึ่งจำเป็นต้องมีวิธีการป้องกันกำจัดศัตรูมะพร้าวอย่างถูกต้องตามหลักการป้องกันกำจัดโดยชีววีธีที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ของเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าว 100 รายที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม GAP

แผน งานตามยุทธศาสตร์ องค์ความรู้ ที่จำเป็น เหตุผลที่เลือก ตัวชี้วัดตาม คำรับรอง 5 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และสะดวกต่อการนำไปใช้ จะเป็นส่วนสำคัญในการวางแผน พัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องการจัดการระบบฐานข้อมูลที่ดี ไม่น้อยกว่า 3 ครั้งที่มีการปรับปรุง/พัฒนาระบบสารสนเทศของสำนักงานฯ ให้มีความทันสมัยและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน