นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปแบบของ Windows Movie Maker
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
การตัดต่อภาพเคลื่อนไหวและการ์ตูนเคลื่อนไหว
การสร้างหนังสือการ์ตูน
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
เปิดโลกนอกกะลา.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Flip Album
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
การออกแบบการจัดสวน.
โดยการใช้ Layer และ Timeline
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างเกมด้วยโปรแกรม Unity
Seminar in computer Science
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
การใช้สมอง #2 อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
สาชาวิชาการวัด ประเมิน และวิจัยทางการศึกษา
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่25 เทคนิคการนำเสนองานด้วย Power Point
คำทำนายธิเบต สำหรับคุณ
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
(Transaction Processing Systems)
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
Background / Story Board / Character
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
การถ่ายวีดีโอ.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
Customers own design product.. งานออกแบบโฆษณาตามใจลูกค้า จุดมุ่งหมาย รับออกแบบโฆษณาสินค้าที่ลูกค้าต้องนำไป เสนอต่อสาธารณชนหรือผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นทั้ง.
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
สปอตวิทยุ.
เรื่อง การสร้างการ์ตูน ผู้จัดทำโดย นาย ณรงค์ฤทธิ์ ทับยา เลขที่ 11 นาย ศุภสัณห์ รอดเจริญ เลขที่ 26 นาย ศุภสัณห์ รอดเจริญ เลขที่ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5.
การเขียนรายงาน.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การออกแบบ Presentation อย่างมืออาชีพ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบของ ADDIE model
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
การทำอนิเมชั่นในโปรแกรม Photoshop
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26 การสร้างอนิเมชั่น 2D ผู้จัดทำ นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26 นางสาวนภาพร นฤสุข เลขที่ 38 ชั้น ม.5/1

สาระสำคัญ เหตุผลในการสร้างอนิเมชั่น - ชอบวาดการ์ตูน และชอบดูอนิเมชั่น - เกิดแรงบรรดาลใจในการจะสร้างอนิเมชั่น จากการ์ตูนที่ดู - อยากมีผลงานอนิเมชั่นเป็นของตนเอง และสามารถนำไปต่อยอดทำผลงานต่อไปได้

วัสดุ และอุปกรณ์ 1.กระดาษ A4 6.คอมพิวเตอร์ 2.กระดาษไข 7.ปากกาตัดเส้น 2.กระดาษไข 7.ปากกาตัดเส้น 3.ดินสอ 8.กระดานรองวาดภาพ 4.ยางลบ 9.เมาส์ปากกา (ถ้ามี) 5.โปรแกรมสร้างอนิเมชั่น

โปรแกรมที่ใช้ โปรแกรม : Pencil Animation เป็นโปรแกรมที่เราสามารถนำรูปภาพการ์ตูนที่ เราวาดไว้นำมาทำเป็นอนิเมชั่น 2D ได้

ขั้นตอน ไอเดีย หรือ แนวความคิด - ขั้นตอนแรกในการทำเลยคือ คิด คิดว่าจะทำ เรื่องอะไร ทำยังไง จบยังไง น่าสนใจยังไง ขนาดที่ จะทำ ระดมความคิดต่างๆเอามารวมกัน แต่ไม่จำเป็น ต้องเขียนรายละเอียด เขียนแค่ตัว หลักๆ ไว้

เนื้อเรื่อง - หลังจากได้แนวความคิดตอนนี้ก็มาเขียนเนื้อเรื่อง โดยเอาแนวคิดหลักๆมาขยายความ ในการเขียนเนื้อเรื่อง ตอนนี้ก็เหมือนกับเขียนนิยาย ต้องมีบทพูดไล่เป็นฉากๆ บทๆ เป็นไปตามลำดับ แล้วดูเนื้อเรื่องของเราว่าเหมาะสม ไหม เป็นไปตามแนวเรื่องที่เราคิดไหม

เขียนสตอรี่บอร์ด - นำเนื้อเรื่องที่ทำการเรียบเรียง มาตรวจสอบ ความถูกต้อง เขียนเป็นสตอรี่บอร์ดแบ่งงานเป็น ฉากๆ ไปนำเอาเนื้อเรื่องมาวาดเป็นภาพ มาเรียงต่อกันเป็นฉากๆ แล้วเอามาแปะใว้บนที่บอร์ดแล้วเอามาเขียนมาเพิ่มมุมมอง ฉากไหน แก้มุมไหน เพื่อให้รู้ลำดับการทำงาน

ใส่เสียง - เมื่อเอาสตอรี่บอร์ดมาเรียงกันเป็นหนังอย่าง หยาบๆ แล้วก็จัดการมาอัดเสียง ไม่ว่าจะเสียงพากย์ เสียง เอฟเฟค ให้ตรงกับเสียงทำเสียงให้ตรงกับภาพอนิเมะของ เราในแต่ละฉาก แต่ละตอน

วาดรูปเคลื่อนไหว - เมื่อได้เสียงเราก็นำเสียงมาดูความยาวตามช่วง เวลา เพื่อนำมาวาดจะต้องตัดเส้น ลงสี หรือ การเคลื่อน ไหวของสถานที่และตัวละครเป็นภาพเรียงต่อ ๆ กัน ประมาณ 24 ภาพต่อ 1 วินาที

การตรวจสอบความผิดพลาดและแก้ไข การตรวจสอบความผิดพลาดและแก้ไข - หลังจากวาดอนิเมชั่นแล้ว ตัวอนิเมะจะยังแยก กันเป็นส่วนๆ ในขั้นตอนนี้จะนำมาต่อรวมกัน เพื่อเป็น เรื่องยาวแล้วต้องนำมาดูกัน เพื่อพิจารณาว่าทั้งเนื้อเรื่อง ดูลงตัวมั้ย ต้องตัดฉากไหนออกเพื่อความลงตัวและนำมา ทำลงในโปรแกรมของเราให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและความ ต้องการของเรา

สุดท้าย เมื่อเราจัดทำอนิเมะต่อกันเรียบร้อยแล้ว ใส่เสียงเรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จเราอาจจะนำไปเผยแพร่ ให้เพื่อน ๆ หรือคนที่สนใจ หรืออาจไปต่อยอดหารายได้ ได้ต่อ แต่ต้องวางแนวเรื่องให้ตรงต่อความต้องการของ ตลาดคนดู และต้องมีความชำนาญมากกว่านี้