บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ.รมน. ในการปฏิบัติราชการ ตามหมวด ๑ แห่ง พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ
พันโท สัญชัย บูรณะสัมฤทธิ์ พันโท สัญชัย บูรณะสัมฤทธิ์ หัวหน้าฝ่าย ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พัฒนาการบทบาทของ กอ.รมน. พ.ศ.2495 ประกาศใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ.2495 พ.ศ.2508 จัดตั้ง กองบัญชาการป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ เมื่อ 17 ธ้นวาคม 2508 (บก.ปค.) พ.ศ.2512 แปรสภาพเป็น กองอำนวยการป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ เมื่อ 9 กรกฎาคม 2512 (กอ.ปค.) พ.ศ.2516 แปรสภาพ กอ.ปค.เป็น กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) โดยยังคงมีหน้าที่ตาม พ.ร.บ.คอมมิวนิสต์ ฯ ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พ.ร.บ.ป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์พ.ศ.2495 อำนาจเจ้าพนักงานตาม มาตรา 20 สามารถจับกุม ตรวจค้น ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น หรือหมายจับ (พ.ศ.2522)
พัฒนาการบทบาทของ กอ.รมน. พ.ศ.2525 ปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของ กอ.รมน. - ยาเสพติด - จัดระเบียบและเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน - พัฒนาความมั่นคงเฉพาะพื้นที่ - ปัญหาชนกลุ่มน้อยและผู้หลบหนีเข้าเมือง - ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ - ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี (หน่วยสันตินิมิต) - ปฏิบัติงานด้านการข่าวและปฏิบัติการจิตวิทยา(ปจว.) ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พัฒนาการบทบาทของ กอ.รมน. พ.ศ.2543 ยกเลิก พ.ร.บ.ป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ ฯ พ.ศ.2544 ปรับลดบทบาท กอ.รมน. ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พัฒนาการบทบาทของ กอ.รมน. พ.ศ.2545 จัดตั้ง กอ.รมน. ตามคำสั่ง สำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 158/2545 ลง 29 พ.ค.45 โดยมีภารกิจบทบาท คือ - ประสานการดำเนินการแก้ไขปัญหาต่างๆที่ส่วนราชการปกติมีขีดจำกัดในการดำเนินการเพื่อให้เป็นเอกภาพอย่างเป็นระบบในทิศทางเดียวกัน - ดำเนินการปลูกจิตสำนึกของประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง - สามารถลดบทบาทให้เล็กลงเรื่อยๆเมื่อส่วนราชการสามารถดำเนินการได้ตามปกติ ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พัฒนาการบทบาทของ กอ.รมน. พ.ศ.2549 จัดตั้ง กอ.รมน.ตามคำสั่ง สำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 205/2549 ลง 30 ตุลาคม 2549 มีภารกิจบทบาท คือ - ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินแนวโน้มภัยคุกคามฯ - อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และเสริมการปฏิบัติในการจัดระเบียบความมั่นคงในพื้นที่ทั่วประเทศ - เสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบัน ฯ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ - ดำเนินการอื่นๆตามที่ สมช. ครม.หรือ นรม.มอบหมาย ส่วนกฎหมายและสิทธิมนุษยชน สำนักบริหารงานบุคคล กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 กอ.รมน. หมวด 1 ม.1 - 14 ภารกิจ หมวด 2 ม.15 - 23 โอนกิจการ บทเฉพาะกาล กำหนดโทษ หมวด 3
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 มาตรา 3 “การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร” หมายความว่า การดำเนินการเพื่อป้องกัน ควบคุม แก้ไข และฟื้นฟูสถานการณ์ใด ที่เป็นภัยหรืออาจเป็นภัยอันเกิดจากบุคคล หรือกลุ่มบุคคลก่อให้เกิดความไม่สงบสุข ทำลาย หรือทำความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ ให้กลับสู่สภาวะปกติเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือความมั่นคงของรัฐ
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 มาตรา 3 “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งผู้อำนวยการแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 กอ.รมน. มีฐานะเป็นส่วนราชการ รูปแบบเฉพาะ ขึ้นตรงต่อ นายกรัฐมนตรี โดยวิธีการปฏิบัติราชการและการบริหารงาน การจัดโครงสร้าง การแบ่งส่วนงานและอำนาจหน้าที่ของส่วนงาน และอัตรากำลัง ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
ข้าราชการพลเรือน กอ.รมน. 200 อัตรา ข้าราชการใน กอ.รมน. ข้าราชการพลเรือน กอ.รมน. 200 อัตรา ข้าราชการที่ ผอ.รมน. ร้องขอมา ปฏิบัติราชการ (มาตรา 9)
การแอบอ้าง กอ.รมน.
การแอบอ้าง กอ.รมน.
หน.กมส.สบค.กอ.รมน. ขอบคุณครับ