ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย รพ.ปากช่องนานา
โครงสร้างของระบบการรับ-ส่งต่อผู้ป่วย รพ.ปากช่องนานา Refer out และ Refer receive Refer in Refer back รพ.สต 20 แห่ง รพช./รพ.เอกชน ศูนย์สุขภาพชุมชน.2แห่ง คลินิกเวชกรรมชุมชนอบอุ่น ศูนย์ประสานการรับ-ส่งต่อ โรงพยาบาลปากช่องนานา รพ.มหาราช นครราชสีมา รพ.อื่นๆภายในจังหวัด รพ.อื่นๆภายนอกจังหวัด หมายเหตุ หมายถึงการรับผู้ป่วยเข้า (Refer in)/ การส่งผู้ป่วยออก ((Refer out) หมายถึงการรับผู้ป่วยกลับ(Refer receive)/ ส่งผู้ป่วยกลับ(Refer back)
พัฒนาระบบบริการผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ระหว่างโรงพยาบาลชุมชน กับศูนย์ความเป็นเลิศด้านหัวใจ-หลอดเลือด
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย STEMI ภายใน จังหวัดนครราชสีมา
รพ.ปากช่องนานา+ +รพ.มกุฎคีรีวัน
รพ.มหาราช เตรียม เวลาเดินทาง โรงพยาบาลชุมชน 120 นาที เตรียม เวลาเดินทาง DTB 3 ชั่วโมง 72 นาที 30 นาที 60 นาที เป้าหมายSTEMI ปัจจุบัน
เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 50 ในปี 2556 เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ได้รับการรักษาด้วยการเปิดเส้นเลือดด้วยการให้ยา Fibrinolytic Agent หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน หรือได้รับการส่งต่อเพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด / ทำบอลลูนขยายเส้นเลือด เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 50 ในปี 2556 และมากกว่า 80% ในปี 2558
รพ.มหาราช เตรียม เวลาดินทาง . เ รพ.มหาราช โรงพยาบาลชุมชน 3-4.5ชั่วโมง เตรียม เวลาดินทาง DTB 30 นาที 60นาที เป้าหมายSTROKE Fast Track On setถึงรพ.ช.≤ 3ชม.
STEMI
STEMI / STROKE Fast Track โรงพยาบาลปากช่องนานา
ประสานงานไปยังหน่วยกู้ชีพ อบต. (FR) รับแจ้งเหตุจาก 1669 รับแจ้งเหตุจาก 1669
การสื่อสารและออก ปฏิบัติการของหน่วยกู้ชีพ อบต. ( FR )
2. ศูนย์วิทยุแจ้ง EMS ออกรับเหตุ
3. ทีม EMS ออกรับเหตุ
4. ดูแลรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล
Consult อายุรแพทย์ รพ.ปากช่องนานา / รพ.มหาราชฯ ทาง smart phone
3. การเตรียมให้ยา Streptokinase
4. การพยาบาลระหว่างได้รับยา Streptokinase
5. การประสานงานก่อนการส่งต่อ 5. การประสานงานก่อนการส่งต่อ
6. การดูแลขณะส่งต่อ
ส่งมอบอาการและการรักษา แพทย์ พยาบาล N A Consult อายุรแพทย์ รพ.มหาราช ฯ -088-3784141 เขียนใบ Refer ส่งมอบอาการและการรักษา ให้พยาบาล Refer Refer ตามทีม Refer - พยาบาล - N A - รถ/ พขร. Line-0.9%NSS -DTX V ประสานศูนย์ Refer 044-235959หรือ044-235958 FAX -EKG -ใบRefer Stroke Fast Track (On Set ≤ 3 ชม.)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย STROKE ขณะส่งต่อบนรถ Refer 1. วัดและบันทึก V/S ทุก 15 นาที เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ 2. จัดท่า Semi fowler’s position กรณีไม่ใส่ ET tube 3. ผู้ป่วย On ET tube ตรวจสอบการติด Tube ตำแหน่งของ Tube และการBlow cuff 4. ให้ O2 canular 3 – 5 LPM กรณีไม่ได้ใส่ Et tube ถ้า O2 Sat < 92 % On O2 mask c bag 8-10 LPM เพื่อให้ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ 5. Control IV ตามแผนการรักษา 6. ไม่ควร Suction บ่อย และนาน (ไม่เกิน 30 วินาที) เพื่อลดการ พร่องออกซิเจนและภาวะ IICP 7. ประเมินอาการทางระบบประสาททุก 15 นาที โดยประเมิน GCS , conscious , pupils ร่วมทั้งประเมิน Motor power