การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สรุป Web of Science โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
Online Public Access Catalog
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
Management Information Systems
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล LexisNexis
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
หนังสืออ้างอิง.
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง (Reference Books)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สรุป Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
หนังสืออ้างอิง (Reference Book)
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Matichon E-library ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. การจำแนกประเภท  ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (Shelving)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval

ความรู้เรื่องสารนิเทศ สารนิเทศ หมายถึง ข้อความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง สิ่งที่เห็นได้ เหตุการณ์ ความคิด และสิ่งเหล่านี้ได้เก็บบันทึกในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และ โสตทัศน์อื่น

ความสำคัญของสารนิเทศ การประกอบอาชีพ การศึกษา อุตสาหกรรม การเข้าถึงสารนิเทศ get the right information, to the right person at the right time การวางแผน การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ

การใช้สารนิเทศอย่างเหมาะสม ต้องถูกต้องและทันสมัยที่สุด ส่งถึงผู้ต้องการใช้ในรูปแบบ ที่เหมาะสม ถึงในเวลาอันเหมาะสม

ยุคข่าวสารข้อมูล (Information Age) เทคโนโลยีสารสนเทศ โลกาภิวัฒน์ (Globalization) ทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway) สังคมข่าวสาร (Information Society) ห้องสมุด หรือ ศูนย์สารนิเทศ ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library)

แหล่งสารนิเทศ 1. ศูนย์ข้อมูล หรือศูนย์สารนิเทศ 2. บุคคล 3. สถานที่ 4. หอสมุด

หอสมุดหรือห้องสมุด ห้องสมุดในปัจจุบันและอนาคตได้นำเอา เทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้ใน การบันทึก จัดเก็บ สืบค้นข้อมูล และการ ดำเนินงาน

ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บหนังสือ ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือระบบ D.C. เช่น 920.547 ก214ท ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือ ระบบ LC เช่น C458.23 ก214ท

การเรียงหนังสือของห้องสมุด หนังสือจะเรียงตาม เลขเรียกหนังสือ เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วย เลขหมู่หนังสือ และเลขผู้แต่ง HE7709 HE7709 A527F ก527ส 2002 2545

การเรียงหนังสือระบบ L.C. H HA HE HF……………… HZ HE7709 HE7710 HE7711 HE7713 HE7709 HE7709 HE7709 A527F A618F A792F HE7709 HE7709 HE7709 A527F A527H A527P

การเรียงวารสารและหนังสือพิมพ์ วารสารจัดเรียงตามลำดับอักษรของชื่อวารสาร เรียงจากซ้ายไปขวาเช่น ดิฉัน ทีวีพูล แพรว แม่และเด็ก อนุสาร อ.ส.ท. หนังสือพิมพ์ เก็บทุกฉบับของเดือนปัจจุบัน เก็บบางฉบับของทุกเดือน ในปีปัจจุบัน เริ่ม ม.ค. - ปัจจุบัน เก็บบางฉบับของปีที่ผ่านมา

หนังสืออ้างอิง เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นเป็นพิเศษ สำหรับใช้ค้นคว้าข้อเท็จ จริงบางประการ เรียบเรียงเนื้อหาไว้อย่างมีระเบียบ เช่น เรียงตามลำดับตัวอักษร เป็นหนังสือที่จำกัดให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น ที่เลขเรียกหนังสือ มีอักษร อ หรือ R หรือ Ref อยู่บน เลขหมู่หนังสือ

ประเภทของหนังสืออ้างอิง พจนานุกรม เช่น พจนานุกรมทั่วไป พจนานุกรมเฉพาะวิชา พจนานุกรมภาษาเดียว พจนานุกรมสองภาษา พจนานุกรมคำตรงกันข้าม สารานุกรม ( Encyclopedias ) แบ่งเป็น สารานุกรมทั่วไป และ สารานุกรมเฉพาะสาขาวิชา

หนังสือรายปี ( Yearbooks, Almanacs, Annuals ) นามานุกรม ( Directories ) อักขรานุกรมชีวประวัติ ( Biographical Dictionaries ) หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ เช่น อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ หนังสือนำเที่ยว หนังสือแผนที่