การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
ความรู้เรื่องสารนิเทศ สารนิเทศ หมายถึง ข้อความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง สิ่งที่เห็นได้ เหตุการณ์ ความคิด และสิ่งเหล่านี้ได้เก็บบันทึกในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และ โสตทัศน์อื่น
ความสำคัญของสารนิเทศ การประกอบอาชีพ การศึกษา อุตสาหกรรม การเข้าถึงสารนิเทศ get the right information, to the right person at the right time การวางแผน การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ
การใช้สารนิเทศอย่างเหมาะสม ต้องถูกต้องและทันสมัยที่สุด ส่งถึงผู้ต้องการใช้ในรูปแบบ ที่เหมาะสม ถึงในเวลาอันเหมาะสม
ยุคข่าวสารข้อมูล (Information Age) เทคโนโลยีสารสนเทศ โลกาภิวัฒน์ (Globalization) ทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway) สังคมข่าวสาร (Information Society) ห้องสมุด หรือ ศูนย์สารนิเทศ ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library)
แหล่งสารนิเทศ 1. ศูนย์ข้อมูล หรือศูนย์สารนิเทศ 2. บุคคล 3. สถานที่ 4. หอสมุด
หอสมุดหรือห้องสมุด ห้องสมุดในปัจจุบันและอนาคตได้นำเอา เทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้ใน การบันทึก จัดเก็บ สืบค้นข้อมูล และการ ดำเนินงาน
ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บหนังสือ ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือระบบ D.C. เช่น 920.547 ก214ท ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือ ระบบ LC เช่น C458.23 ก214ท
การเรียงหนังสือของห้องสมุด หนังสือจะเรียงตาม เลขเรียกหนังสือ เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วย เลขหมู่หนังสือ และเลขผู้แต่ง HE7709 HE7709 A527F ก527ส 2002 2545
การเรียงหนังสือระบบ L.C. H HA HE HF……………… HZ HE7709 HE7710 HE7711 HE7713 HE7709 HE7709 HE7709 A527F A618F A792F HE7709 HE7709 HE7709 A527F A527H A527P
การเรียงวารสารและหนังสือพิมพ์ วารสารจัดเรียงตามลำดับอักษรของชื่อวารสาร เรียงจากซ้ายไปขวาเช่น ดิฉัน ทีวีพูล แพรว แม่และเด็ก อนุสาร อ.ส.ท. หนังสือพิมพ์ เก็บทุกฉบับของเดือนปัจจุบัน เก็บบางฉบับของทุกเดือน ในปีปัจจุบัน เริ่ม ม.ค. - ปัจจุบัน เก็บบางฉบับของปีที่ผ่านมา
หนังสืออ้างอิง เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นเป็นพิเศษ สำหรับใช้ค้นคว้าข้อเท็จ จริงบางประการ เรียบเรียงเนื้อหาไว้อย่างมีระเบียบ เช่น เรียงตามลำดับตัวอักษร เป็นหนังสือที่จำกัดให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น ที่เลขเรียกหนังสือ มีอักษร อ หรือ R หรือ Ref อยู่บน เลขหมู่หนังสือ
ประเภทของหนังสืออ้างอิง พจนานุกรม เช่น พจนานุกรมทั่วไป พจนานุกรมเฉพาะวิชา พจนานุกรมภาษาเดียว พจนานุกรมสองภาษา พจนานุกรมคำตรงกันข้าม สารานุกรม ( Encyclopedias ) แบ่งเป็น สารานุกรมทั่วไป และ สารานุกรมเฉพาะสาขาวิชา
หนังสือรายปี ( Yearbooks, Almanacs, Annuals ) นามานุกรม ( Directories ) อักขรานุกรมชีวประวัติ ( Biographical Dictionaries ) หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ เช่น อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ หนังสือนำเที่ยว หนังสือแผนที่