การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
Insect Antennae.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การประดิษฐ์แผนที่ดาววงกลม
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
Butterfly in Sakaerat forest
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
พ.จ.อ.ภาคภูมิ โชติสุวรรณกุล
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ใบ Leaf or Leaves.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
หนอนพยาธิ (Helminth).
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การจัดการตัวอย่างแมลงและการจำแนกชนิด
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
มวนเพชรฆาต (Kissing bug, Assassin bug)
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
ใบไม้.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การจำแนกวงศ์ ในอันดับโอโดนาต้าและออร์ทอพเทอร่า
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
Next.
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
กำมือ เคาะเบาๆ ที่สันหลัง จากบนลงล่าง 6 เที่ยว
ฝ่ายพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
นอนคว่ำ ให้ผู้อื่นกดจุด นิ้วหัวแม่มือซ้ายขวา กดเบาๆ ไล่ตามแนวสันหลัง
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
ขาของแมลง (Insect Legs)
ด้วงกว่าง.
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
Welcome to .. Predator’s Section
เห็นชัด ๆ อาทิตย์คู่จันทร์ ชายคู่หญิง ดอกไม้คู่แมลง แม้แต่ร่างกายของตัวเรา แต่ละคน ยังประกอบด้วยชิ้นส่วน ที่เป็นคู่ทั้งนั้น.
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Monoplacophora.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า บทปฏิบัติการที่ 11 การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า (Orders of Coleoptera insects classification)

อันดับโคลีออพเทอร่า (Coleoptera, coleos = หุ้มหรือบัง, pteron = ปีก) ได้แก่ ด้วง เป็นแมลงขนาดเล็ก-ใหญ่ มีปีก 2 คู่ ปีกคู่หน้าเป็นแผ่นแข็งหนา ขณะเกาะขอบล่างของปีกหน้าจะจรดกันที่กึ่งกลางของสันหลังของลำตัวพอดี ปีกคู่หลังเป็นแผ่นยาวมักจะยาวกว่าปีกคู่หน้าเมื่อพับปีกจะซ้อนเข้าเก็บใต้ปีกคู่หน้า ลักษณะการวางของส่วนหัวส่วนใหญ่เป็นแบบหัวเชิด ปากแบบกัดกิน ตารวมใหญ่ หนวด 8-10 ปล้อง tarsi 3-5 ปล้อง การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์

แมลงในอันดับ Coleoptera แบ่งออกเป็น 2 อันดับย่อย โดยเอาลักษณะด้านล่างของปล้องท้องแรกเป็นหลักคือ 1. อันดับย่อยเอดีฟาก้า (Adephaga) ฐาน coxa ของขาคู่หลังยื่นออกแบ่งด้านล่างของส่วนท้องปล้องแรกมองเห็นเป็น 3 ส่วน tarsi มี 3 ปล้อง หนวดแบบเส้นด้าย ตัวหนอนเป็นแบบ campodeiform ส่วนใหญ่เป็นตัวห้ำกินแมลงอื่นเป็นอาหาร 2. อันดับย่อยโพลีฟาก้า (Polyphaga) ฐาน coxa ของขาคู่หลังไม่ยื่นออกเหมือนในอันดับ Adephaga จำนวนปล้องของ tarsi แบบของหนวด และตัวหนอนแตกต่างกัน

อันดับ Coleoptera มีวงศ์ต่างๆ ดังนี้ 1. อันดับย่อย Adephaga วงศ์ซิซินเดลลิดี้ (Cicindellidae) – ด้วงเสือ วงศ์คาราบิดี้ (Carabidae) – ด้วงดิน วงศ์ไดทิสซิดี้ (Dytiscidae) –ด้วงดิ่ง วงศ์ไยรินิดี้ (Gyrinidae) – ด้วงสี่ตา

วงศ์ซิซินเดลลิดี้ (Cicindellidae) – ด้วงเสือ อันดับย่อย Adephaga วงศ์ซิซินเดลลิดี้ (Cicindellidae) – ด้วงเสือ ลักษณะสำคัญ; ฐานหนวดอยู่ด้านหน้าเหนือฐานของกราม หัวงุ้ม ตารวมโปน

วงศ์คาราบิดี้ (Carabidae) – ด้วงดิน อันดับย่อย Adephaga วงศ์คาราบิดี้ (Carabidae) – ด้วงดิน ลักษณะสำคัญ; ฐานหนวดอยู่ด้านข้างจากจุดระหว่างตาและฐานของกราม หัวเชิด trochanter ขาหลังยื่นยาว

วงศ์ไดทิสซิดี้ (Dytiscidae) –ด้วงดิ่ง อันดับย่อย Adephaga วงศ์ไดทิสซิดี้ (Dytiscidae) –ด้วงดิ่ง ลักษณะสำคัญ; หนวดแบบเส้นด้าย ยาวกว่า maxillary palp

ลักษณะสำคัญ; ตารวมถูกแบ่งเป็น 2 คู่ คือ ตาบน และตาล่าง อันดับย่อย Adephaga วงศ์ไยรินิดี้ (Gyrinidae) – ด้วงสี่ตา ลักษณะสำคัญ; ตารวมถูกแบ่งเป็น 2 คู่ คือ ตาบน และตาล่าง

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ไฮโดรฟิลลิดี้ (Hydrophillidae) –แมลงเหนี่ยง วงศ์ฮิสเตอริดี้ (Histeridae) –ด้วงขี้ควาย วงศ์สแตพไฟลินิดี้ (Staphylinidae) – ด้วงก้นกระดก วงศ์แลมพายริดี้ (Lampyridae) – หิ่งห้อย วงศ์เดอร์เมสทิดี้ (Dermestidae) – ด้วงขนสัตว์ วงศ์อีแลทเตอร์ริดี้ (Elateridae) – ด้วงดีด วงศ์บูเพรสทิดี้ (Buprestidae) – แมลงทับ, ด้วงเจาะไม้ วงศ์ไนทิดูลิดี้ (Nitidulidae) – ด้วงผลไม้เน่า วงศ์ค๊อกซิเนลลิดี้ (Coccinellidae) – ด้วงเต่าลาย วงศ์เมลลอยดี้ (Meloidae) – ด้วงน้ำมัน วงศ์เทนีบริโอนิดี้ (Tenebrionidae) – มอดแป้ง วงศ์ลูคานิดี้ (Lucanidae) – ด้วงเขี้ยวก้าง วงศ์สคาราไบอิดี้ (Scarabaeidae) – ด้วงแรด, ด้วงกว่าง วงศ์เซอร์แรมไบซิดี้ (Cerambycidae) – ด้วงหนวดยาว วงศ์ไครโซเมลลิดี้ (Chrysomelidae) – ด้วงเต่าทอง, ด้วงหมัดกระโดด วงศ์บรูซิดี้ (Bruchidae) – ด้วงถั่ว วงศ์เคอร์คูลิโอนิดี้ (Curculionidae) – ด้วงงวง

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ไฮโดรฟิลลิดี้ (Hydrophillidae) –แมลงเหนี่ยง ลักษณะสำคัญ; หนวดแบบลูกตุ้มสั้นกว่า maxillary palp

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ฮิสเตอริดี้ (Histeridae) –ด้วงขี้ควาย ลักษณะสำคัญ; หนวดรูปกระบองและหัวงอเป็นข้อศอก

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์สแตพไฟลินิดี้ (Staphylinidae) – ด้วงก้นกระดก ลักษณะสำคัญ; ปีกคู่หน้าสั้น ปิดไม่เกินครึ่งของส่วนท้อง

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์แลมพายริดี้ (Lampyridae) – หิ่งห้อย ลักษณะสำคัญ; หัวซ่อนอยู่ใต้พื้นที่สันหลังอกปล้องแรก ปลายส่วนหลังด้านล่างมีอวัยวะทำแสง

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์เดอร์เมสทิดี้ (Dermestidae) – ด้วงขนสัตว์ ลักษณะสำคัญ; หัวซ่อนอยู่ใต้พื้นที่สันหลังอกปล้องแรก มีขนละเอียดคลุมทั้งตัวและปีก

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์อีแลทเตอร์ริดี้ (Elateridae) – ด้วงดีด ลักษณะสำคัญ; อกปล้องแรกและอกปล้องกลาง ไม่ติดกันแน่น มีอวัยวะเพื่อใช้ ดีดอยู่ด้านล่างส่วนอก

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์บูเพรสทิดี้ (Buprestidae) – แมลงทับ, ด้วงเจาะไม้ ลักษณะสำคัญ; อกปล้องแรก และอกปล้องกลางติดกันแน่น ไม่มีอวัยวะใช้ดีด

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ไนทิดูลิดี้ (Nitidulidae) – ด้วงผลไม้เน่า ลักษณะสำคัญ; หนวดแบบลูกตุ้ม ปีกคลุมส่วนท้องไม่มิด

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ค๊อกซิเนลลิดี้ (Coccinellidae) – ด้วงเต่าลาย ลักษณะสำคัญ; tarsi 4 ปล้อง แต่มองเห็นชัดเพียง 3 ปล้อง

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์เมลลอยดี้ (Meloidae) – ด้วงน้ำมัน ลักษณะสำคัญ; เล็บแยกเป็นง่าม

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์เทนีบริโอนิดี้ (Tenebrionidae) – มอดแป้ง ลักษณะสำคัญ; trochanter ขาหลังไม่ยื่นยาว ปล้องหนวดถี่สั้น

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ลูคานิดี้ (Lucanidae) – ด้วงเขี้ยวก้าง ลักษณะสำคัญ; มีกรามขนาดใหญ่ หนวดทุกปล้องมีขนาดไล่เลี่ยกัน

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์สคาราไบอิดี้ (Scarabaeidae) – ด้วงแรด, ด้วงกว่าง ลักษณะสำคัญ; หนวดแบบแผ่นใบไม้

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์เซอร์แรมไบซิดี้ (Cerambycidae) – ด้วงหนวดยาว ลักษณะสำคัญ; หนวดยาวเท่า หรือยาวกว่าลำตัว tarsal formula 5-5-5 แต่เห็นชัดเพียง 4 ปล้อง ตารวมเว้า

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์ไครโซเมลลิดี้ (Chrysomelidae) – ด้วงเต่าทอง, ด้วงหมัดกระโดด ลักษณะสำคัญ; tarsi 5 ปล้อง แต่มองเห็นชัดเพียง 4 ปล้องหนวดสั้นกว่าลำตัว

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์บรูซิดี้ (Bruchidae) – ด้วงถั่ว ลักษณะสำคัญ; หน้ายาวรูปสี่เหลี่ยม หนวดแบบฟันเลื่อย ลำตัวปกคลุมด้วยขนละเอียด

อันดับย่อย Poloyphaga วงศ์เคอร์คูลิโอนิดี้ (Curculionidae) – ด้วงงวง ลักษณะสำคัญ; ด้านหน้าของส่วนหัวยื่นยาวคล้ายงวง หนวดแบบข้อศอกมี10 ปล้อง