การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
หลักสำคัญในการล้างมือ
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
เลื่อยมือ hack saw.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
วิวัฒนาการของพะยูน.
EVOLUTION OF FROGS..
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
เขียดเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
เราไปกัน เลย ปิด โปรแกร ม ก. แมว ค. นก ข. ม้า ง. ควาย อ๋อ..... รู้ แล้ว.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ดินถล่ม.
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
วิชา งานสีรถยนต์.
การออกแบบการเรียนรู้
การออกแบบการเรียนรู้
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
13 อันดับ สัตว์น้ำจืดที่น่ากลัวที่สุดในโลก
ด้วงกว่าง.
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
จัดทำโดย ด.ช.ชนวีร์ ใจเงี้ยวคำ เลขที่ 29 ¼ เสนอ อ.ดลหทัย อินทร์จันทร์
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
สัตว์ ถัดไป.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา Amphibians รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา http://ag.kku.ac.th/virote/

การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ( Amphibians ) มีรูปร่างบาง ผิวหนังชื้น สามารถหายใจผ่านผิวหนัง ได้แก่ ซาลาแมนเดอร์ กบ และคางคก ไส้เดือน งู การหายใจใช้กระบวนการ Osmosis ซึ่งออกซิเจนที่เกาะที่ผิวหนังจะได้รับดูดซึมเข้ากระแสเลือด จะอาศัยอยู่ในที่ชื้นแฉะ เพื่อให้ผิวหนังเปียกชื้นตลอด พวกที่อาศัยในที่แห้งแล้งจะมีชั้นผิวหนังที่หนาขึ้น ผิวหนังปกคลุมด้วยสารเมือก หล่อลื่นผิว รักษาความชื้น และป้องกันเข้าร่างกายมากเกินไป

ลิ้น: อาจมีลิ้นยาวเพื่อตวัดจับแมลงกิน แต่บางชนิดไม่มี ฟัน: จะไม่มีฟัน งับด้วยกรามและกลืนกิน อาหารหลักเป็นแมงมุม แมลง ไข่แมลง หรือแม้แต่หนู สัตว์ในกลุ่มครึ่งบกครึ่งน้ำนี้มีถึง 4,000 สายพันธุ์ กลุ่มแรก(order)เป็นพวกไส้เดือนงู กลุ่มที่สองเป็นพวก นิวส์และซาลาแมนเดอร์ กลุ่มสามเป็นพวกกบและคางคก

กลุ่ม นิวส์และซาลาแมนเดอร์ (Newts , Salamanders) ขนาดมีตั้งแต่เล็กยาว 1-2 นิ้ว ยาว 1.5 เมตร หนัก 100 กก. ตัวนิวส์ชอบอยู่ในน้ำใสสะอาด ส่วนซาลาแมนเดอร์อยู่ได้หลายแบบน้ำใส โคลน บนบก ซาลามานเดอร์จะอ้วนสั้น ดวงตาขนาดเล็ก มีหลายสีสัน จากสีเหลืองหรือสีเขียว ตัดกับลายสีดำ เพศผู้มีหางยาวกว่าเพศเมียโดยทั่วไป

1.การทำตู้สำหรับลูกอ็อด อุปกรณ์การเลี้ยง ที่อยู่3 แบบ คือ อาศัยอยู่ในน้ำอย่างเดียว แบบสองอาศัยอยู่ครึ่งบกกับน้ำ แบบที่สามอาศัยอยู่บนบกใกล้น้ำ 1.การทำตู้สำหรับลูกอ็อด ทำเหมือนตู้เลี้ยงปลาคือมีใส่น้ำสะอาด มีเครื่องกรอง จัดให้มีพื้นที่เป็นหลายชั้น ชั้นล่างเป็นหินกรวดหนา 1 นิ้ว ชั้นต่อมาเป็นทรายหนา 2 นิ้ว ทรายควรจัดให้เอียงไปหาจุดต่ำสุด ใส่น้ำให้จุดบนสุดมีน้ำลึก 1-2 นิ้ว น้ำใช้ต้องปราศจากคลอรีน

2.การทำตู้แบบกึ่งน้ำกึ่งพื้นดิน ตู้แบบนี้จะเหมาะสำหรับให้ลูกอ็อด ที่จะพัฒนาตนเองเป็นกบต่อไป ตู้จึงต้องแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนพื้นดินกับส่วนพื้นน้ำ ซึ่งอาจใช้ซีเมนต์เทกั้นกลาง ให้ชั้นดินล่างเป็นกรวดสูง 1 นิ้ว ต่อมาเป็นชั้นถ่านคาร์บอน หนา1นิ้ว บนสุดเป็นชั้นดินทรายหรือดินเหนียว หนา 2-3 นิ้ว ปิดทับชั้นสุดด้วยดินหน้าดินและโรยปิดด้วยกิ่งไม้กับใบพืชพืชแห้ง ใส่น้ำเข้าไปในส่วนบ่อน้ำให้ใส่จนปริ่มระดับพอดีกับส่วนผิวหน้าพื้นดิน อุณหภูมิตู้ 60-70 F สำหรับซาลาแมนเดอร์ 70-80 F สำหรับกบ

3.การทำตู้แบบพื้นที่ชุ่มน้ำ หลักการแบบสอง ในบ่อควรจัดให้ถ้วยน้ำฝังในตู้เพื่อเป็นแหล่งน้ำกิน แต่บริเวณผิวดินต้องมีความชื้นหรือจัดให้มีระบบสเปรย์น้ำ ปูด้วยวัสดุเก็บความชื้นได้ เช่น มอสหลากหลายชนิด ถ้าอากาศเย็นอาจติดหลอดไฟ สัตว์จะมีการจำศีลอยู่ในรู ไม่กินอาหารและหายใจทางผิวหนัง

การให้อาหาร จะกินแมลงเป็นส่วนใหญ่ กินไส้เดือน นก หนู แต่ก็ขึ้นกับชนิดสัตว์ ลูกอ็อดกินใบพืชและพืชน้ำ สาหร่าย แต่สามารถให้อาหารเม็ดสุนัข แมว กระต่ายได้ การเปลี่ยนจากลูกอ็อดเป็นกบนั้นต้องการกินแมลงเป็นอาหาร ซาลาแมนเดอร์ชอบกินไส้เดือน จิ้งหรีด และ สัตว์ขนาดเล็กต่างๆ หรืออาหารสุนัข/แมวที่ทำให้เปียก ไม่ต้องให้อาหารเยอะจนเกินไป

การดูแล ใช้สองมือรวบจับตรงตำแหน่งขาหน้า ซาลาแมลเดอร์ ลำตัวอ่อนนิ่ม ควรใช้มือจุ่มน้ำให้เปียกก่อนจับ ใช้มือรวบจับเบาๆทั้งลำตัว ห้ามจับที่หางเพราะมันจะสลัดให้หางขาด หางขาดสามารถงอกขึ้นมาใหม่ได้ ผิวหนังกบบางชนิด คางคกจะมีสารเมือกพิษ หลังจับแล้วให้ล้างมือให้สะอาด ห้ามใช้มือมาถูตาหรือใบหน้าตนเอง

การสืบพันธุ์ กบจะร้องหาคู่ในฤดูผสมพันธุ์ จะผสมพันธุ์ในน้ำ ตัวผู้จะขึ้นเกาะขี่บนหลังตัวเมีย แล้วตัวเมียวางไข่ ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสม ไข่จะเกาะติดอบู่กับพืชน้ำ ไข่เมื่อฟักออกมาจะเป็นตัวอ่อนที่เรียกว่า ลูกอ็อด มีลักษณะคือไม่มีขา ไม่มีหนังตา ไม่มีปอด และไม่มีกราม มีหางและครีบยาว ลูกอ็อดหายใจผ่านเหงือก และกินพืชน้ำเป็นอาหาร ลูกอ็อดจะมีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปตามวงจรที่เรียกว่า Metamorphosis จะเริ่มมีขาหลังก่อน แล้วจึงมีขาหน้า มีหนังตา กราม หาวหายไป ปอดเริ่มพัฒนา ซึ่งจะครบขั้นตอนอาจใช้เวลาตั้งแต่2-3 สัปดาห์ ถึง 3 ปี ขึ้นกับชนิด

ซาลาแมนเดอร์และนิวส์ ผสมพันธุ์ในฤดูฝน ไม่มีเสียงร้อง การหาคู่ใช้การดมกลิ่นกัน การผสมเกิดในน้ำ บางชนิดตัวผู้ฉีดน้ำเชื้อลงบนไข่ตอนเพศเมียวางไข่ลงในน้ำ บางชนิดตัวผู้ฉีดน้ำเชื้อไว้ก้นบ่อกองน้ำเชื้อเรียก spermatophore แล้วตัวเมียจะรับน้ำเชื้อไปผสมภายในช่องสืบพันธุ์ของตัวเมีย แล้วค่อยปล่อยไข่ออกมาฟักในน้ำ ตัวอ่อนที่ฟักออกมาหน้าตาเหมือนพ่อแม่และมีเหงือกอยู่ภายนอกแบบพุ่มไม้ โตขึ้นจะอาศัยอยู่บนดิน และไม่มีเหงือก

โรค Red Leg Fungus Infection โรคขาแดงพบมากในกบที่เลี้ยงในตู้ เกิดจากเชื้อ Aeromanas hydrophila ระบาดในบริเวณน้ำนิ่ง กบที่อยู่ตามธรรมชาติจะมีความทนทานต่อโรคนี้ มีอาการ จุดแดงบนผิวหนัง พบมากที่ด้านในขาหนีบ การรักษาให้กินยาปฏิชีวนะ Fungus Infection การติดเชื้อจากเชื้อรา จะพบมากในพวก นิวส์ และซาลาแมนเดอร์ มีอาการบาดแผลเป็นรอยที่เกิดจากการจับ การไต่ การรักษาใช้ยาทากันเชื้อรา