ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ผู้หญิงไทยเป็นแชมป์ มะเร็งปากมดลูก?
สนับสนุน โดย บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
NAVY WATER BED 2012.
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การผ่าตัดปากมดลูกผ่านกล้องส่องผ่านช่องท้องโดยเก็บมดลูกไว้มีโอกาสตั้งครรภ์สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก : ความสำเร็จครั้งแรกในระเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หลักสำคัญในการล้างมือ
ผศ.(พิเศษ)นพ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Trichomonas vaginalis
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
HIV/AIDS.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
Cancer.
ต่อการส่งเสริมสุขภาพตา
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Tonsillits Pharynngitis
ภาวะมีบุตรยาก น.พ. สุรชัย เดชอาคม ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การล้างมือ (hand washing)
การปฏิบัติตนของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก มะเร็งปากมดลูก ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก

เนื้อหา สถานการณ์ในประเทศไทย สาเหตุ ความเสี่ยง การดำเนินโรค การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก กายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง การตรวจภายใน การรักษามะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูกคืออะไร ??

ปากมดลูกอยู่ตรงไหน ?

SquamoColumnar Junction (SCJ)

สถานการณ์มะเร็งปากมดลูก

สถานการณ์มะเร็งปากมดลูก ผู้ป่วยรายใหม่ ประมาณ 400,000 คน / ปี ผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก 200,000 คน/ปี 80% พบในประเทศกำลังพัฒนา ขาดการตรวจคัดกรองที่มีคุณภาพ

สถานการณ์มะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย อุบัติการณ์ประมาณ 20 ต่อ 1 แสนคน พบมากเป็นอันดับ 1 ในเพศหญิง พบมากที่สุด ในเขตภาคเหนือ และมีอัตราการตายค่อนข้างสูง อ้างอิง: ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ.2555 สถาบันมะเร็งแห่งชาติ

ความสูญเสียจากมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคเรื้อรัง, ทรมาน, ระยะเวลา 2-3 ปี สถานที่รักษามีน้อย, ระยะเวลานาน, ราคาแพง อัตราตายสูง, การรักษาได้ผลประมาณ 50% พบในอายุ 40-55 ปี ซึ่งเป็นกำลังสำคัญของครอบครัว ผลกระทบต่อครอบครัว, ลูกกำพร้าแม่

สามารถลดความสูญเสียได้จากการป้องกัน และการค้นหาโรคตั้งแต่ระยะแรก สามารถลดความสูญเสียได้จากการป้องกัน และการค้นหาโรคตั้งแต่ระยะแรก

สาเหตุ ความเสี่ยง ของมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ ความเสี่ยง ของมะเร็งปากมดลูก

สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก เชื้อไวรัส HPV – human papilloma virus ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ติดเชื้อช่วงอายุ 20-30 ปี มะเร็งเกิดหลังติดเชื้อ 10-15 ปี

Human Papilloma Virus Infection เป็นทั้งผู้ชาย และผู้หญิง ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ถุงยางอนามัยป้องกันไม่ได้ จะเป็นอยู่ประมาณ 6-14 เดือน ไม่มียารักษา 80% จะหายเอง 80-85% มีโอกาสติดเชื้อก่อนอายุ 30 ปี

HPV and Cancer Male: Penis, Anus, Larynx Female: Cervix, Vulva, Vagina High risk types: 16, 18 Carrier: Immune system Screening: HPV DNA typing Vaccine

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้รับเชื้อ HPV ได้รับ High risk HPV: เพศชาย รับเป็นเวลานาน: เพศสัมพันธ์อายุน้อย (< 20 ปี) ได้รับหลายชนิด: เพศสัมพันธ์หลายคน ภูมิคุ้มกันบกพร่อง: HIV, สูบบุหรี่ กรรมพันธุ์

ธรรมชาติของมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเกิดที่บริเวณ SCJ ของปากมดลูก ไม่ค่อยมีอาการ ค่อยๆลุกลามไปเนื้อเยื่อข้างเคียง/อุ้งเชิงกราน ไปต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียง กระจายไปทั่วร่างกายในระยะท้ายๆ

Squamocolumnar Junction - SCJ

การดำเนินโรค อายุ 18 ปี เริ่มมีเพศสัมพันธ์ ปากมดลูกเปลี่ยนแปลง (Dysplasia) อายุ 35 ปี เริ่มกลายเป็นมะเร็งระยะแรก (Carcinoma) อายุ 45-50 ปี เข้าสู่ระยะลุกลาม (Invasive) อายุ 55 ปี เสียชีวิต

รู้ได้อย่างไรว่าเป็น ?

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก PAP smear (Papanikolaou) Visual Inspection with Acetic Acid (VIA)

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก PAP SMEAR Sensitivity 44 %, Specificity 90% มีข้อจำกัดด้านบุคลากร (Cytologist, Pathologist) ครอบคลุมน้อยกว่า 10% ไม่เหมาะสมในที่ที่มีทรัพยากรจำกัด

Pap smear Georgios Papanikolaou

วิธีการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ Pap smear

Extended tip spatula

วิธีการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ Pap smear หมุน 360 ํ x2 รอบ

ชื่อ-สกุล อายุ

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก VIA: น้ำส้มสายชูกลั่น 3- 5% Sensitivity 77 %, Specificity 60% สามารถทำได้โดยพยาบาลที่ผ่านการอบรม ทราบผลผลภายหลังทำ 1 นาที เหมาะสมในที่ที่มีทรัพยากรจำกัด

VIA – Negative

VIA – Positive

การรักษา ขึ้นกับระยะที่เป็น ระยะไม่ลุกลาม - จี้เย็น (Cryotherapy) - ใช้ลวดไฟฟ้าตัดเฉพาะส่วน (LEEP) ระยะลุกลาม - การผ่าตัด - เคมีบำบัด - ฉายแสง

Appearance of the Cervix Following Cryotherapy Pretreatment Immediately following cryotherapy After 4 Months

การตรวจภายใน

กายวิภาคอวัยวะสืบพันธุ์สตรี อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก อวัยวะสืบพันธุ์ภายในอุ้งเชิงกราน

SquamoColumnar Junction (SCJ)

การตรวจภายใน (Pelvic Examination) การตรวจดูบริเวณหน้าท้องและบริเวณขาหนีบ การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การตรวจภายในด้วยเครื่องมือ speculum การตรวจภายในด้วยมือสองข้าง (bimanual palpation) การตรวจทางช่องคลอดและทวารหนัก (rectovaginal examination)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจภายใน Bivalve speculum ถุงมือยางแบบใช้ครั้งเดียว Normal saline KY gel หรือ Hibitane cream ถ้วยใส่สารหล่อลื่น ไม้พันสำลี เตียงตรวจภายใน โคมไฟ ผ้าถุง ผ้าคลุมหน้าท้อง ผ้าปิดตา ถังแช่เครื่องมือ พร้อมน้ำยาฆ่าเชื้อหรือผงซักฟอก ถังขยะ อ่างล้างมือ สบู่ ผ้าเช็ดมือ

การตรวจหน้าท้องและขาหนีบ 1.เพื่อตรวจแผลเป็น อาการกดเจ็บ ก้อนในท้อง 2.เพื่อตรวจต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบ แผลเปิด ร่องรอยของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

การดู การคลำ

การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ตรวจดูแคม คลิตอริส และฝีเย็บ มีแผล ก้อน มีหูดหงอนไก่หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หรือไม่ เพื่อตรวจส่วนที่กดเจ็บ บวม หรือหนองจากต่อมบาร์โธลินและสกีน

การตรวจด้วย speculum เพื่อตรวจช่องคลอดว่ามีตกขาวผิดปกติ หนอง มีรอยแผลหรือเนื้องอก เพื่อตรวจดูปากมดลูกว่ามีเลือดออกผิดปกติ แผล เนื้องอก หรือมีลักษณะการอักเสบ เพื่อเก็บตัวอย่างตกขาวไปตรวจ ถ้าสามารถทำได้ เพื่อตรวจสอบและดูแลรักษา เช่นการตัดชิ้นเนื้อ หรือติดตามผลการรักษา

SquamoColumnar Junction (SCJ)

การตรวจภายในด้วยมือสองข้าง (Bimanual Palpation) วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจดูว่ามีการตั้งครรภ์ หรือคลำก้อนเนื้องอกปากมดลูก หรือการโยก กดเจ็บของปากมดลูก เพื่อคลำดูขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการเคลื่อนไหวของมดลูก เพื่อตรวจดูก้อนบริเวณปีกมดลูก(adnexae) การกดเจ็บ เพื่อตรวจการโป่งตึง บริเวณ Cul de sac

การตรวจ ทางช่องคลอด และทวารหนัก (Rectovaginal Examination) (RV)

การบันทึกผล M - Multiparous N - Nulliparous I - Introitus U - Urethra B - Batholin gland Abdomen : soft ,no mass, not tender Inguinal : normal PV : MIUB (NIUB): normal Vagina: normal discharge, normal musoca Cervix: no erosion, no mass Uterus: retroversion, normal size, not tender Adnexa: no mass, not tender Cul de sac: free, no bulging RV: normal

ตัวอย่าง Abdomen : soft, no mass, not tender Inguinal : normal PV : MIUB: normal Vagina: curd like discharge, normal mucosa Cervix: cauliflower mass 3 cm with bleeding Uterus: 12 cm, firm, nodular surface, not tender Adnexa: no mass, not tender Cul de sac: free RV : normal