ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก มะเร็งปากมดลูก ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
เนื้อหา สถานการณ์ในประเทศไทย สาเหตุ ความเสี่ยง การดำเนินโรค การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก กายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง การตรวจภายใน การรักษามะเร็งปากมดลูก
มะเร็งปากมดลูกคืออะไร ??
ปากมดลูกอยู่ตรงไหน ?
SquamoColumnar Junction (SCJ)
สถานการณ์มะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์มะเร็งปากมดลูก ผู้ป่วยรายใหม่ ประมาณ 400,000 คน / ปี ผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก 200,000 คน/ปี 80% พบในประเทศกำลังพัฒนา ขาดการตรวจคัดกรองที่มีคุณภาพ
สถานการณ์มะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย อุบัติการณ์ประมาณ 20 ต่อ 1 แสนคน พบมากเป็นอันดับ 1 ในเพศหญิง พบมากที่สุด ในเขตภาคเหนือ และมีอัตราการตายค่อนข้างสูง อ้างอิง: ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ.2555 สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
ความสูญเสียจากมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคเรื้อรัง, ทรมาน, ระยะเวลา 2-3 ปี สถานที่รักษามีน้อย, ระยะเวลานาน, ราคาแพง อัตราตายสูง, การรักษาได้ผลประมาณ 50% พบในอายุ 40-55 ปี ซึ่งเป็นกำลังสำคัญของครอบครัว ผลกระทบต่อครอบครัว, ลูกกำพร้าแม่
สามารถลดความสูญเสียได้จากการป้องกัน และการค้นหาโรคตั้งแต่ระยะแรก สามารถลดความสูญเสียได้จากการป้องกัน และการค้นหาโรคตั้งแต่ระยะแรก
สาเหตุ ความเสี่ยง ของมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ ความเสี่ยง ของมะเร็งปากมดลูก
สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก เชื้อไวรัส HPV – human papilloma virus ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ติดเชื้อช่วงอายุ 20-30 ปี มะเร็งเกิดหลังติดเชื้อ 10-15 ปี
Human Papilloma Virus Infection เป็นทั้งผู้ชาย และผู้หญิง ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ถุงยางอนามัยป้องกันไม่ได้ จะเป็นอยู่ประมาณ 6-14 เดือน ไม่มียารักษา 80% จะหายเอง 80-85% มีโอกาสติดเชื้อก่อนอายุ 30 ปี
HPV and Cancer Male: Penis, Anus, Larynx Female: Cervix, Vulva, Vagina High risk types: 16, 18 Carrier: Immune system Screening: HPV DNA typing Vaccine
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้รับเชื้อ HPV ได้รับ High risk HPV: เพศชาย รับเป็นเวลานาน: เพศสัมพันธ์อายุน้อย (< 20 ปี) ได้รับหลายชนิด: เพศสัมพันธ์หลายคน ภูมิคุ้มกันบกพร่อง: HIV, สูบบุหรี่ กรรมพันธุ์
ธรรมชาติของมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเกิดที่บริเวณ SCJ ของปากมดลูก ไม่ค่อยมีอาการ ค่อยๆลุกลามไปเนื้อเยื่อข้างเคียง/อุ้งเชิงกราน ไปต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียง กระจายไปทั่วร่างกายในระยะท้ายๆ
Squamocolumnar Junction - SCJ
การดำเนินโรค อายุ 18 ปี เริ่มมีเพศสัมพันธ์ ปากมดลูกเปลี่ยนแปลง (Dysplasia) อายุ 35 ปี เริ่มกลายเป็นมะเร็งระยะแรก (Carcinoma) อายุ 45-50 ปี เข้าสู่ระยะลุกลาม (Invasive) อายุ 55 ปี เสียชีวิต
รู้ได้อย่างไรว่าเป็น ?
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก PAP smear (Papanikolaou) Visual Inspection with Acetic Acid (VIA)
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก PAP SMEAR Sensitivity 44 %, Specificity 90% มีข้อจำกัดด้านบุคลากร (Cytologist, Pathologist) ครอบคลุมน้อยกว่า 10% ไม่เหมาะสมในที่ที่มีทรัพยากรจำกัด
Pap smear Georgios Papanikolaou
วิธีการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ Pap smear
Extended tip spatula
วิธีการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ Pap smear หมุน 360 ํ x2 รอบ
ชื่อ-สกุล อายุ
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก VIA: น้ำส้มสายชูกลั่น 3- 5% Sensitivity 77 %, Specificity 60% สามารถทำได้โดยพยาบาลที่ผ่านการอบรม ทราบผลผลภายหลังทำ 1 นาที เหมาะสมในที่ที่มีทรัพยากรจำกัด
VIA – Negative
VIA – Positive
การรักษา ขึ้นกับระยะที่เป็น ระยะไม่ลุกลาม - จี้เย็น (Cryotherapy) - ใช้ลวดไฟฟ้าตัดเฉพาะส่วน (LEEP) ระยะลุกลาม - การผ่าตัด - เคมีบำบัด - ฉายแสง
Appearance of the Cervix Following Cryotherapy Pretreatment Immediately following cryotherapy After 4 Months
การตรวจภายใน
กายวิภาคอวัยวะสืบพันธุ์สตรี อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก อวัยวะสืบพันธุ์ภายในอุ้งเชิงกราน
SquamoColumnar Junction (SCJ)
การตรวจภายใน (Pelvic Examination) การตรวจดูบริเวณหน้าท้องและบริเวณขาหนีบ การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การตรวจภายในด้วยเครื่องมือ speculum การตรวจภายในด้วยมือสองข้าง (bimanual palpation) การตรวจทางช่องคลอดและทวารหนัก (rectovaginal examination)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจภายใน Bivalve speculum ถุงมือยางแบบใช้ครั้งเดียว Normal saline KY gel หรือ Hibitane cream ถ้วยใส่สารหล่อลื่น ไม้พันสำลี เตียงตรวจภายใน โคมไฟ ผ้าถุง ผ้าคลุมหน้าท้อง ผ้าปิดตา ถังแช่เครื่องมือ พร้อมน้ำยาฆ่าเชื้อหรือผงซักฟอก ถังขยะ อ่างล้างมือ สบู่ ผ้าเช็ดมือ
การตรวจหน้าท้องและขาหนีบ 1.เพื่อตรวจแผลเป็น อาการกดเจ็บ ก้อนในท้อง 2.เพื่อตรวจต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบ แผลเปิด ร่องรอยของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดู การคลำ
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ตรวจดูแคม คลิตอริส และฝีเย็บ มีแผล ก้อน มีหูดหงอนไก่หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หรือไม่ เพื่อตรวจส่วนที่กดเจ็บ บวม หรือหนองจากต่อมบาร์โธลินและสกีน
การตรวจด้วย speculum เพื่อตรวจช่องคลอดว่ามีตกขาวผิดปกติ หนอง มีรอยแผลหรือเนื้องอก เพื่อตรวจดูปากมดลูกว่ามีเลือดออกผิดปกติ แผล เนื้องอก หรือมีลักษณะการอักเสบ เพื่อเก็บตัวอย่างตกขาวไปตรวจ ถ้าสามารถทำได้ เพื่อตรวจสอบและดูแลรักษา เช่นการตัดชิ้นเนื้อ หรือติดตามผลการรักษา
SquamoColumnar Junction (SCJ)
การตรวจภายในด้วยมือสองข้าง (Bimanual Palpation) วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจดูว่ามีการตั้งครรภ์ หรือคลำก้อนเนื้องอกปากมดลูก หรือการโยก กดเจ็บของปากมดลูก เพื่อคลำดูขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการเคลื่อนไหวของมดลูก เพื่อตรวจดูก้อนบริเวณปีกมดลูก(adnexae) การกดเจ็บ เพื่อตรวจการโป่งตึง บริเวณ Cul de sac
การตรวจ ทางช่องคลอด และทวารหนัก (Rectovaginal Examination) (RV)
การบันทึกผล M - Multiparous N - Nulliparous I - Introitus U - Urethra B - Batholin gland Abdomen : soft ,no mass, not tender Inguinal : normal PV : MIUB (NIUB): normal Vagina: normal discharge, normal musoca Cervix: no erosion, no mass Uterus: retroversion, normal size, not tender Adnexa: no mass, not tender Cul de sac: free, no bulging RV: normal
ตัวอย่าง Abdomen : soft, no mass, not tender Inguinal : normal PV : MIUB: normal Vagina: curd like discharge, normal mucosa Cervix: cauliflower mass 3 cm with bleeding Uterus: 12 cm, firm, nodular surface, not tender Adnexa: no mass, not tender Cul de sac: free RV : normal