Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Advertisements

• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
และการนำไปใช้ประโยชน์
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
หลักการเขียนโครงการ.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การเขียนรายงานผลการวิจัย
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551 โรงแรมซิตี้พาร์ค นครราชสีมา

Service Profile วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ความสำเร็จที่ผ่านมา เพื่อค้นหาความเสี่ยงและโอกาสพัฒนาในปัจจุบัน เพื่อให้ทราบระดับและความก้าวหน้าของการพัฒนา เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการเยี่ยมสำรวจ

Purpose Performance Process Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Service Profile กรอบที่ใช้กำกับการพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละหน่วยในองค์กร หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concepts) ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด บริบท ความต้องการ ของผู้รับผลงาน ข้อกำหนด ทางวิชาชีพ จุดเน้น ขององค์กร ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ตัวชี้วัด Study Purpose Performance พันธกิจ/เจตจำนง (หน้าที่ & เป้าหมาย) Act วัตถุประสงค์ Do Process ปรับปรุง ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการ ความคาดหวัง Plan กระบวนการหลัก ออกแบบระบบ โรค/หัตถการสำคัญ (เฉพาะบริการดูแลผู้ป่วย) ประเด็นย่อยในแต่ละ กระบวนการ/โรค

ปัญหาที่พบ หน่วยงานต่างๆ ไม่เข้าใจบริบทของตัวเอง ประเด็นคุณภาพสำคัญไม่ชัด ไม่เข้าใจว่าจะเชื่อมโยงกับกิจกรรมคุณภาพอื่นๆ อย่างไร ไม่มีการทบทวนความเชื่อมโยงระหว่างคำตอบในส่วนต่างๆ หน่วยงานไม่ได้นำจุดเน้นขององค์กรมาใช้ร่วมพัฒนา หรืออาจรับเอาจุดเน้นขององค์กรมาเป็นของหน่วยงานด้วยความไม่เข้าใจ ไม่ได้นำ service profile มาใช้ตรวจสอบความก้าวหน้าของการพัฒนาและการบรรลุเป้าหมาย

ปัญหาที่พบ ผู้เขียนส่วนใหญ่เป็นพยาบาล การเขียนไม่สะท้อนการทำงานของสหสาขา ใช้เจ้าของหน่วยงานเป็นศูนย์กลางของการจัดทำ unit profile เช่น ห้องผ่าตัด หอผู้ป่วย หน่วยซักฟอก แทนที่จะเป็น ผู้ป่วยผ่าตัด ผู้ป่วยใน ผู้ใช้ผ้า เขียน service profile เพียงเพื่อส่งให้ พรพ.

ความคาดหวังในการใช้ประโยชน์ ผู้ประสานงานคุณภาพ / QMR เปิดโอกาสให้หน่วยงานต่างๆ ใช้ service profile ในลักษณะของการเรียนรู้ มีความยืดหยุ่น นำข้อสงสัย / ความไม่แน่ใจ / ความแตกต่าง มาอภิปรายเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ มีการใช้ service profile อย่างเชื่อมโยงกับกิจกรรมคุณภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น กิจกรรมทบทวนคุณภาพ, CQI ทำความเข้าใจในความเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ใน service profile และแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงได้อย่างชัดเจน (หลักการเชื่อมโยงที่เป็นพื้นฐานที่สุดคือ purpose – process – priority - KPI)

ความคาดหวังในการใช้ประโยชน์ มีสมดุลระหว่างจุดเน้นในการพัฒนาของหน่วยงาน กับจุดเน้นในการพัฒนาขององค์กร สามารถตีความหมายจุดเน้นในการพัฒนาขององค์กร มาสู่จุดเน้นในการพัฒนาของหน่วยงานได้อย่างเหมาะสม (จุดเน้นของการพัฒนา หรือ priority อาจจะอยู่ในรูปแบบของ ปัญหา ความท้าทาย เป้าหมาย ก็ได้) มีการนำ service profile มาใช้ตรวจสอบความก้าวหน้าของการพัฒนา การบรรลุเป้าหมาย อย่างสม่ำเสมอ ใช้ผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลางของการจัดทำ service profile ครอบคลุมงานของทุกวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในจุดให้บริการนั้น ใช้ service profile เพื่อทำความเข้าใจงานของตนเอง และจุดประกายการพัฒนา

กิจกรรมกลุ่ม 1) ศึกษา Service Profile ER ของโรงพยาบาล A ค้นหาว่า ทำให้มองเห็นความเชื่อมโยงอะไรได้บ้าง 2) ศึกษา Service Profile ของหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย • ทำความเข้าใจบริบทของหน่วยงานว่าเหตุใดผลงานของหน่วยงานจึงออกมาเช่นนั้น พยายามมองหาข้อจำกัดที่หน่วยงานต้องเผชิญอยู่ • ใช้แผนภูมิเพื่อช่วยตรวจสอบความสมบูรณ์และความสัมพันธ์ภายใน Service Profile 3) สรุปสิ่งที่น่าชื่นชมและโอกาสพัฒนาที่สำคัญอย่างละ 3 ประเด็น