หลักการเขียนโปรแกรม ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การจำลองความคิด
รหัสเทียม (Pseudo Code)
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การเขียนผังงาน.
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการแก้ปัญหา.
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) [แผนกคอมพิวเตอร์] หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 4 บทที่ การเขียนรหัสเทียม

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 1. การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code) รหัสเทียม (Pseudo Code อ่านว่า “ซูโดโค้ด”) คือ การอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียดได้จากขั้นตอนวิธีการ ประมวลผล แล้วขั้นตอนต่อไปก็คือ นำขั้นตอนการประมวลผลมาเขียน ผังงานหรือรหัสเทียมหรืออาจเขียนทั้งสองอย่าง เพื่อนำผังงานหรือ รหัสเทียมไปใช้ประกอบการเขียนโปรแกรมต่อไป หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 2. ลักษณะของรหัสเทียม 1. กำหนดจุดเริ่มต้นด้วยคำว่า “Begin” และจุดสิ้นสุดด้วยคำว่า “End” 2. ใช้คำที่สามารถเข้าใจได้ง่าย 3. การเขียนรหัสเทียมแต่ละคำสั่งควรเขียนเป็นบรรทัด ๆ 4. การเขียนรหัสเทียมต้องไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่งในการเขียนปรแกรม 5. ควรมีการย่อหน้า เพื่อสะดวกต่อการอ่านและตรวจสอบ 6. การเขียนรหัสเทียมจะเขียนจากบนลงล่าง และมีทางเข้าหนึ่งทาง ทางออกหนึ่งทาง 7. การเขียนรหัสเทียมจะไม่เขียนหมายเลขกำกับในแต่ละขั้นตอน หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ตัวอย่าง 1 แสดงลักษณะของรหัสเทียม อธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะข้อความ 1. เริ่มต้นการทำงาน Begin Read Base , High Ans = 0.5 * Base * High Print Ans End 2. อ่านค่า Base , High 3. คำนวณค่า Ans = 0.5 * Base * High 4. แสดงค่า Ans 5. จบการทำงาน หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 3. รูปแบบของรหัสเทียม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

4. การเขียนรหัสเทียมจากลำดับขั้นตอนวิธีการประมวลผล ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนรหัสเทียม จากลำดับขั้นตอนการทำงานของข้อความ เพื่อหาค่าผลรวม ดังตารางต่อไปนี้ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนรหัสเทียมจากลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

5. การเขียนรหัสเทียมจากขั้นตอนการทำงานแบบต่าง ๆ การเขียนรหัสเทียมจากขั้นตอนการทำงานแบบต่าง ๆ เริ่มต้นการทำงานแบบลำดับจะเป็นการทำงานแบบข้อต่อข้อ ส่วนลักษณะการทำงานแบบเลือกทำ จะใช้รหัสเทียมว่า If...Then...Else คำว่า “If” ใช้แทนคำว่า “ถ้า” คำว่า “Then” ใช้แทนคำว่า “แล้วทำ” คำว่า “Else” ใช้แทนคำว่า “มิฉะนั้นแล้ว” ส่วนลักษณะการทำงานแบบทำซ้ำ การทำงานสามารถจะใช้คำสั่ง While...Do และ Do...Until คำว่า “While” ใช้แทนคำว่า “ทำในขณะที่” คำว่า “Do” ใช้แทนคำว่า “ทำ” คำว่า “Do Until” ใช้แทนคำว่า “ทำจนกระทั่ง” หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนรหัสเทียม จากลำดับขั้นตอนการทำงานแบบเลือกทำ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนรหัสเทียม จากลำดับขั้นตอนการทำงานแบบทำซ้ำ ด้วย While ...Do ดังตารางต่อไปน หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนรหัสเทียม จากลำดับขั้นตอนการทำงานแบบ ทำซ้ำด้วย Do ...Until หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) จบการนำเสนอ บทที่ การเขียนรหัสเทียม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)