การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
สรุปประเด็นหารือ.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ขั้นตอนการจัดทำคำของบประมาณ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ร่างระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การวิเคราะห์ต้นทุนรายอาชีพ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
การบริหารการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงดี
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
งบประมาณ แผ่นดิน เงินรายได้ แหล่งทุนภายนอก.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
โรงพยาบาลจึงประหยัดพลังงานได้รางวัล
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างพอเพียง
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนการผลิต.
โครงการวิจัยมหาวิทยาลัย รุ่น 3 หัวข้องานวิจัย: สวัสดิการ
เรื่อง การบริหารจัดการระบบ กองทุน มจธ. ครั้งที่ 1 16 พฤษภาคม 2549 หัวข้อการวิจัย.
Assessment and Evaluation System
บทบาทของข้อมูลการตลาด
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การวัดการวิจัยในการตลาด
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
ด้านบริหารงานงบประมาณ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ นำเสนอหัวข้อโครงการวิจัยมหาวิทยาลัย รุ่นที่ 3 16 พฤษภาคม 2549

การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ ผู้บริหารงานวิจัย: รศ.ดร.สุวิทย์ เตีย รศ.ดร.วนิดา พวกุล อาจารย์ที่ปรึกษา: ดร.นันทน์ ถาวรังกูร รศ.วารุณี เตีย ผู้วิจัย: น.ส.สุนันท์ พูลแพ

ความเป็นมา แนวคิดในการปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการเพื่อเพิ่มรายได้จากงานบริการวิชาการให้มหาวิทยาลัย โดยมีต้นทุนเป็นตัวกำหนด เนื่องจากคาดว่าการคิดต้นทุนที่ถูกต้องและเหมาะสมและครอบคลุมจะสามารถทำให้ลดค่าใช้จ่าย และสร้างกำไรให้กับองค์กรได้เป็นอย่างดี

จากการศึกษางานวิจัยคุณสมพร น้อยยาโน (UR รุ่น2) สรุปปัญหาการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ ดังนี้ 1. ขาดการบันทึกข้อมูล เช่น วัสดุ เวลาปฏิบัติงาน ระยะเวลาการใช้งานของเครื่องจักร 2. ไม่มีแนวทางหรือมาตรฐานในการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าตอบแทนและวิธีการคิดต้นทุน 3. หน่วยงานไม่ปฏิบัติตามระเบียบ 4. หลักเกณฑ์มีช่องว่าง ทำให้ผู้ปฏิบัติใช้เกณฑ์ขั้นต่ำ

จากการศึกษางานวิจัยคุณสมพร น้อยยาโน (UR รุ่น2) สรุปข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ จัดกลุ่มประเภทเครื่องมือ 2. ระดมสมองตามประเภทของกลุ่มเครื่องมือ 3. ศึกษาวิเคราะห์หาต้นทุนของงานแต่ละประเภท ตามกลุ่มเครื่องมือ 4. จัดทำ Model การคิดต้นทุน

แนวทางการดำเนินการต่อ สรุปขั้นตอนการดำเนินงาน วิเคราะห์ จัดกลุ่มประเภทเครื่องมือ 1. รวบรวมรายละเอียดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละประเภทงาน และในแต่ละหมวดค่าใช้จ่าย 2. แยกต้นทุนทางบัญชี และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ 3. ประเมินค่าต้นทุน ระดมสมองตามประเภทของกลุ่มเครื่องมือ ศึกษาวิเคราะห์หาต้นทุนของงานแต่ละประเภท ตามกลุ่มเครื่องมือ จัดทำ Model การคิดต้นทุน

แนวทางการดำเนินการต่อ แนวทางการคิดต้นทุน จากการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ ที่ มจธ. ดำเนินการอยู่ เป็นลักษณะของการคิดต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) คือ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายจริง ในการดำเนินกิจกรรม และเป็นรายการที่ลงบันทึกไว้ในบัญชีรายจ่ายของกิจการ ยังมิได้คำนึงถึงต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Cost) คือต้นทุนทางบัญชี รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้บันทึกลงในบัญชีรายจ่ายด้วย เนื่องจากเน้นปัจจัยของเจ้าของธุรกิจ จึงมองดูเหมือนไม่ใช่ต้นทุน เพราะไม่มีการจ่ายออกไปจริงจึงต้องใช้หลักการเดียวกับการคิดต้นทุนเสียโอกาสในการประเมินค่าต้นทุน

แนวทางการดำเนินการต่อ ต้นทุนเสียโอกาส คือ ผลประโยชน์หรือผลตอบแทนที่กิจการควรได้รับจากทางเลือกซึ่งจากการไม่ได้เลือก เพราะตัดสินใจเลือกทางอื่นแล้ว เช่น การตัดสินใจนำกิจการของตนเอง มาทำกิจการร้านซักผ้าเพราะจะคิดต้นทุนค่าเสียโอกาสก็คือผลประโยชน์ที่ควรจะได้รับจากการนำเอากิจการไปทำกิจการอื่นที่มีรายได้สูงกว่า แต่ต้นทุนเสียโอกาสนี้จะไม่มีการลงรายการในบัญชี

แนวทางการดำเนินการต่อ เชิงตรรกวิทยาทางเศรษฐกิจ จำแนกค่าใช้จ่ายออกเป็นหมวดต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. หมวดเงินเดือน 2. หมวดค่าจ้างชั่วคราว 3. หมวดค่าตอบแทน 4. หมวดค่าใช้สอย 5. หมวดค่าวัสดุ 6. หมวดค่าสาธารณูปโภค 7. หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

แนวทางการดำเนินการต่อ การประเมินค่าต้นทุน ต้นทุน (Cost) คือค่าใช้จ่ายที่ต้องการจ่ายให้เป็นผลตอบแทนแก่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิด ที่นำมาใช้ในการกระบวนการผลิต ปัจจัยการผลิต (งานบริการวิชาการ) 1. Man (คน) การจัดสรรคนให้เหมาะสมกับงาน (Put the right man on the right job) 2. Management (การบริหารจัดการ) เช่น เวลาในการทำงาน การส่งมอบงาน และ After Service 3. Machine (เครื่องจักร, อุปกรณ์) เช่น ชั่วโมงการใช้งาน, ค่าเสื่อม/ค่าสึกหรอ 4. Money (เงินทุน) เช่น ค่าจ้าง, ค่าบริการ, แหล่งลูกค้า