การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

แนะนำกองทุนรวมจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมชั้นนำ
กองทุนรวมของ MFC.
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 32 ปี
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
Statement of Cash Flows
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
1.
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
การบริโภค การออม และการลงทุน
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การเข้าร่วมประชุมกับ สหกรณ์ แชร์ล๊อตเตอรี่ สหกรณ์ออม ทรัพย์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สาเหตุ : สหกรณ์ออมทรัพย์มีสภาพ คล่องมาก.
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
แนวคิดการประเมินประสิทธิภาพ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
Risk Management Strategy
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ความรู้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน การพิจารณาต้นทุนเงินทุนของเจ้าของตามแบบวิธี Discounted Cash Flow (DCF) จะมีข้อจำกัดในเรื่องของสมมติฐานที่ตั้งขึ้น กล่าวคือ จะกำหนดไว้ว่าเงินปันผลที่จ่ายมีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้นทุกปี และเพิ่มด้วยอัตราคงที่ ซึ่งข้อกำหนดดังกล่าวไม่เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง ดังนั้น จึงมีการนำวิธีที่เรียกว่า Capital Asset Pricing Model – CAPM มาใช้ในการคำนวณ ภายใต้แนวคิด CAPM – ค่าของทุนของเจ้าของจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนแบบไม่มีความเสี่ยง + ค่าชดเชยความเสี่ยงที่คำนวณขึ้นมาจากค่าเบต้าของหุ้นสามัญและค่าชดเชยความเสี่ยงของตลาด ดังนั้น ต้นทุนของหุ้นสามัญจะเท่ากับ

การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน โดยที่ Rf หมายถึง อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ไม่มีความเสี่ยง Rm หมายถึง อัตราผลตอบแทนของตลาด β หมายถึง ดัชนีวัดความเสี่ยงของกิจการ การประมาณค่า Rf นั้น จะมีหลักเกณฑ์ 2 ข้อ คือ ไม่มีความเสี่ยงในด้านการผิดนัดชำระ (Default Risk) และไม่มีความเสี่ยงในอัตราผลตอบแทนที่นำไปลงทุนต่อ (Reinvestment Rate Risk) ในบางประเทศ เช่น สหรัฐฯ จะใช้พันธบัตรรัฐบาล แต่ทั้งนี้พันธบัตรรัฐบาลต้องมีสภาพคล่องสูงด้วย กรณีที่ไม่มีพันธบัตรรัฐบาลหรือมีพันธบัตรแต่ไม่มีสภาพคล่อง สามารถใช้อัตราดอกเบี้ยออมทรัพย์ที่ปรับด้วยค่าความน่าเชื่อถือของกิจการ

การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน การประมาณค่า Rm-Rf – หรือส่วนชดเชยความเสี่ยงจากการลงทุนในตลาด ซึ่งเท่ากับผลตอบแทนส่วนเกินของตลาด กล่าวอีกนัยหนึ่ง ค่า Rm-Rf = ผลตอบแทนของตลาดหักด้วยผลตอบแทนแบบไม่มีความเสี่ยง = ค่าเสียโอกาสของนักลงทุนในการนำเงินมาลงทุนในตลาด การชดเชยความเสี่ยง = ค่าเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนตลาดในอดีต การประมาณค่า Beta ของหลักทรัพย์ I – ค่าเบต้าเป็นการวัดการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนหุ้นสามัญของบริษัทใดบริษัทหนึ่งเทียบกับการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์โดยรวม (ซึ่งมักจะใช้อัตราที่ใช้ในตลาดหลักทรัพย์)