ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
แบบรูปและความสัมพันธ์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
การทดลองที่ 5 Colligative property
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
หน่วย SI ของมวล คือ kilogram (kg) มวลของสสารคงที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด
บทที่ 1 Introduction.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ.
สารประกอบ.
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การระเบิด Explosions.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation Stoicheon = ธาตุ Metron = การวัด

โมล (mole) หน่วยที่ใช้บอกปริมาณสาร 1 mole = 6.02 x1023 อนุภาค n = จำนวนอนุภาค NA เมื่อ n = mole NA = Avogadro’s number (6.02 x1023 อนุภาค/mol)

n =mol; m =mass; d =density; V =volume; การคำนวณปริมาณสาร สารบริสุทธิ์ n = m = dv MW หรือ AW MW หรือ AW n =mol; m =mass; d =density; V =volume; MW = molecular weight AW = atomic weight

การคำนวณปริมาณสาร แก๊ส n = PV P=pressure (atm) V=volume (mL หรือ cm3) RT P=pressure (atm) V=volume (mL หรือ cm3) R=gas const. (0.08206 atm L K-1 mol-1 T =temperature (K)

การคำนวณปริมาณสาร n = CV สารละลาย 1000 n = mol; C = molarity (M) V = volume (mL หรือ cm3)

มวลโมเลกุล Molecular mass น้ำหนักโมเลกุล Molecular weight ของทุกอะตอมในโมเลกุล g molecular weight = น้ำหนักเป็นกรัม ของสารหนึ่งโมล MW ของ Cu(OH)2 = 63.5+2(16.0+1.008) = 97.6 g

สูตรเคมี (Chemical formula) Empirical formula อัตราส่วนอย่างต่ำระหว่างอะตอมของธาตุ ในสารประกอบ Molecular formula บอกจำนวนอะตอมจริงของธาตุในสารประกอบ Structural formula แสดงโครงสร้างและพันธะระหว่างอะตอม MW หาจาก molecular formula

MW = ผลรวมของ AW ของทุกธาตุรวมกัน = 40+32+(16 x 4)+2(2)+2(16) ตัวอย่าง จงหามวลโมเลกุลของ CaSO4.2H2O กำหนดมวลอะตอมของ Ca = 40, S = 32, O = 16 และ H = 1 MW = ผลรวมของ AW ของทุกธาตุรวมกัน = 40+32+(16 x 4)+2(2)+2(16) = 40+32+64+4+32 = 172 MW ของ CaSO4.2H2O = 172 ใช้เป็น herbicide, fungicide and pesticide และ เป็นส่วนประกอบของ Fehling’s solution และ Benedict’s solution ในการทดสอบ reducing sugars 8

ประโยชน์จากการทราบสูตรโมเลกุลของสาร 9

การคำนวณทางเคมี ปริมาณ อะตอม โมเลกุลของสาร ปริมาณสัมพันธ์จากปฏิกิริยาเคมี 10

การคำนวณที่เกี่ยวกับ ปริมาณสารสัมพันธ์ การคำนวณสูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุล ปฏิกิริยาของสารที่ผสมกันเกิดผลิตภัณฑ์เดียว การคำนวณจากสมการที่ดุลแล้ว สารกำหนดปริมาณ (The limiting agent) ผลผลิตทางทฤษฎี (Theoretical yield) และ ผลผลิตจริง (Actual yield)

1. การคำนวณสูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุลจากการวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ ตัวอย่าง ของแข็งผลึกชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบเป็น C, H และ O ถ้าเผาผลึกนี้หนัก 0.4647 g ในอากาศที่มีออกซิเจน มากเกินพอ ได้ผลิตภัณฑ์เป็น CO2 0.8635g และ H20 0.1767g ก. จงหาสูตรเอมพิริกัล ข. ถ้ามวลโมเลกุล=142 จงหาสูตรโมเลกุลของผลึกนี้

วิธีทำ mol C : H : O = 1.962 : 1.962 : 1.308 = 3:3:2 mol C = mol CO2 = 0.8635g = 1.962x10-2 mol 44.01g/mol มวล C = (1.962x10-2 mol)(12.011g/mol)= 0.2357g mol H = 2 mol H20 = 2(0.1767g) = 1.962x10-2 mol 18.015g/mol มวล H= (1.962x10-2 mol)(1.0079g/mol)= 0.01977g มวล O = 0.4647-0.2357-0.01977=0.2092 g mol O = 0.2092g = 1.308x10-2 mol (15.9994g/mol) mol C : H : O = 1.962 : 1.962 : 1.308 = 3:3:2 สูตรเอมพิริกัล = C3H3O2 จาก (C3H3O2)n => 142 = 71n; n=2 สูตรโมเลกุล = C6H6O4

2. ปฏิกิริยาของสารที่ผสมกันแล้ว ให้ผลิตภัณฑ์เดียว 2. ปฏิกิริยาของสารที่ผสมกันแล้ว ให้ผลิตภัณฑ์เดียว ตัวอย่าง 2 จากการสกัด Tl จากของผสม TlCl/Tl2O 5.9018g ได้โลหะ Tl หนัก 5.3995g จงคำนวณ percentage by weight (%w/w) ของTlCl ในของผสม ?

วิธีทำ มวล ของ TlCl และTl2O = 5.9018g กำหนด มวลของ TlCl = x มวลของ Tl2O = 5.9018 - x mol TlCl = x 239.82 g/mol mol Tl2O = 5.9018-x 424.74 g/mol จากโจทย์กำหนด มวล Tl ที่สกัดได้ = 5.3995 g mol Tl = 5.3995 = mol Tl จากTlCl + mol Tl จาก Tl2O AW (Tl) x + 2(5.9018-X) = 5.3995 239.82 424.74 AW(Tl) x = 2.5424 %w TlCl = 2.2524 x100 = 43.079% 5.9018

3. การคำนวณจากสมการเคมีที่ดุลแล้ว

จงหามวลของน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ของ CH4(g) 2.000 g ตัวอย่าง 3 จงหามวลของน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ของ CH4(g) 2.000 g CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g) วิธีทำ mol CH4 = 1, (mol = m/MW) mol H2O 2 mol H2O = 2 mol CH4 = 2(2.000g) = 0.2494 mol (16.04g/mol) มวล H2O = (0.2494 mol)(18.02g/mol) = 4.494 g

4. สารกำหนดปริมาณ

วิธีทำ ตัวอย่าง 4 3Fe(s) + 4H2O(g)  Fe3O4(s) + 4H2(g) ถ้า Fe 4 mol ทำปฏิกิริยากับ H2O 5 mol จงคำนวณ mol H2 ที่เกิดขึ้น วิธีทำ จากปฏิกิริยา mol Fe = 3 mol H2O 4 Fe 4 mol ทำปฏิกิริยากับ H2O > 5 mol H2O เป็น limiting agent mol H2 = mol H2O = 5 mol Magnetite (Fe3O4) ใช้เป็นสารดูดซับ เพื่อขจัด As(III) and As(V) ในน้ำ

5. ผลผลิตทางทฤษฎี (Theoretical yield) ผลผลิตจริง (Actual yield) ผลผลิตตามทฤษฎี เป็นผลผลิตสูงสุดที่คำนวณได้ตามสมการ ผลผลิตจริง เป็นผลผลิตที่ได้จากการทดลอง %ผลผลิต = ผลผลิตจริง x 100 ผลผลิตตามทฤษฎี

ตัวอย่าง 5 จากปฏิกิริยาการเผาโลหะ Na หนัก 4.5980g ในอากาศที่มีออกซิเจนมากเกินพอ ได้ Na2O หนัก 5.8750 g จงคำนวณร้อยละผลผลิตของ Na2O ที่ได้ วิธีทำ 2Na(s) + 1/2O2(g)  Na2O(s) mol Na2O = ½ mol Na = ½(4.5980g) = 0.1000 mol (22.9898 g/mol) มวล Na2O = (0.1000 mol)(61.9790 g/mol) = 6.1979 g % yield Na2O = 5.8750 g x 100 = 94.79% 6.1979 g