โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 18 มกราคม 2554

หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ทำไมทำ พฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม  การบริโภคอาหารไม่สมดุล  ออกกำลังกาย น้อย  เครียด มหันตภัยเงียบ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ มะเร็ง

สถานการณ์ 2547 ( ร้อยละ ) 2552 อ้วน 1) ดัชนีมวลกาย > 25 รอบเอวเกินเกณฑ์ ผู้หญิง ผู้ชาย 34.4 26.5 36.1 15.4 40.7 28.4 45.0 18.6 2. โคเลสตอรอลในเลือดสูง > 250 มก/ลิตร1) 13.7 19.1 3. ความดันโลหิตสูง1) 23.0 21.4 4. เบาหวาน1) 6.4 6.9

การบริโภค 2) คำแนะนำ (ช้อนชา / วัน) ปัจจุบัน 6 20 12 1 2 5. การบริโภค 5.1 น้ำตาล 6 20 5.2 ไขมัน 12 5.3 เกลือ 1 2 1) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2) สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

กรมอนามัย ทำอะไรไปแล้ว ขนมอาหารลด น้ำตาล ไขมัน โซเดียม 25 % โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ขนมไทยเพื่อสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม อาหารว่างเพื่อสุขภาพ (Healthy Meeting) เมนูชูสุภาพและเมนูไร้พุง เมนูสื่อสารประชาสัมพันธ์ อาหารลด หวาน มัน เค็ม

กรอบแนวคิด หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค เติมเต็มออกกำลังกาย 11. นวัตกรรม กิจกรรมเด่น 10. ทีมงาน แก่นนำเยี่ยมบ้าน 4. แผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล 2, 3 สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ, การสื่อสารสาธารณะ หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค 1.นโยบายและการดำเนินงาน - เมนูชูสุขภาพ/ เมนู 2 : 1 : 1 - อาหารว่าง เพื่อสุขภาพ - DPAC - โรงเรียนปลอด น้ำอัดลม - องค์กรไร้พุง 5.สร้างเครือข่ายแกนนำ - อสม. - ชมรมสร้าง สุขภาพ - สภาเยาวชน - เด็กไทยทำได้ - To be # 1 ฯ ล ฯ 6, 7, 8 สำรวจ - พฤติกรรม - ภาวะโภชนาการ - การใช้น้ำตาล น้ำมัน เกลือ 9. กิจกรรม ออกกำลังกาย

ทำอะไร กระบวนการพัฒนา หมู่บ้าน/ชุมชน รพศ./รพท./ รพช./ รพ.สต. โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้าน อาหาร 1. มีนโยบายและการดำเนินงาน  2. สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพ 3. การสื่อสารและสร้างกระแสสังคม 4. แผนสุขภาพตำบล / การสนับสนุน - 5. สร้างเครือข่าย แกนนำ 6. สำรวจพฤติกรรมบริโภค / ออกกำลังกาย 7. ประเมินภาวะโภชนาการ วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก 8. สำรวจปริมาณการใช้น้ำตาล น้ำมัน เกลือ น้ำปลา ซอสปรุงรส 9. กิจกรรมออกกำลังภายในหน่วยงานและในชุมชน 10. ทีมงาน / แกนนำ ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง 11. นวัตกรรมและกิจกรรมเด่น

เป้าหมาย หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค สถานที่ ผลผลิต ผลลัพธ์ 1. หมู่บ้าน / ชุมชนทุกแห่ง มีกระบวนการพัฒนาเป็นหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - มาตรการสังคม - เมนูสุขภาพ เมนูไร้พุง 211 2. รพศ. / รพท. ทุกแห่ง รพช. จังหวัดละ 1 แห่ง รพ.สต. ร้อยละ 10* มีกระบวนการพัฒนาเป็นโรงพยาบาล ลดหวาน มันเค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - เมนูสุขภาพ - เมนูไร้พุง - คลินิก DPAC 3. โรงเรียนระดับประถมศึกษา 28,000 แห่ง มีกระบวนการพัฒนาเป็นโรงเรียน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม 4. ศูนย์เด็กเล็กระดับดีมาก 5,146 แห่ง มีกระบวนการพัฒนาเป็นศูนย์ เด็กเล็ก ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - ศูนย์เด็กเล็กปลอดน้ำอัดลม 5. ร้านอาหาร - เมนูชูสุขภาพ 12,445 ร้าน มีกระบวนการพัฒนาเป็นร้านอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - เมนูชูสุขภาพ 6. องค์กรไร้พุง จำนวน 200 แห่ง พัฒนาตามเกณฑ์องค์กรไร้พุง - ผ่านเกณฑ์องค์กรไร้พุง 8

มาตรการ 1. สร้างกระแสสังคม สื่อสาธารณะ 2. ลด หวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ในกลุ่มกิจการดังนี้ 2.1 หมู่บ้าน / ชุมชน - มาตรการสังคม - เมนูชูสุขภาพ - เมนูไร้พุง 211

มาตรการ 2.2 รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. - เมนูชูสุขภาพ เมนูไร้พุง 211 อาหารว่างเพื่อสุขภาพ - DPAC : ส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง ให้คำปรึกษา ดูแลรักษา และส่งต่อ - กิจกรรมออกกำลังกาย ในโรงพยาบาล และในชุมชน

มาตรการ 2.3 โรงเรียน - เมนูชูสุขภาพ โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ขนม 25% ลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม - กิจกรรมออกกำลังกายในโรงเรียน

มาตรการ 2.4 ศูนย์เด็กเล็ก - เมนูชูสุขภาพ ศูนย์เด็กเล็กปลอดน้ำอัดลม ขนม 25% ลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม - กิจกรรมออกกำลังกายภาย ในศูนย์เด็กเล็ก

มาตรการ 3. แผนสุขภาพตำบล ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง 3. แผนสุขภาพตำบล ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง 4. เครือข่าย แกนนำ จังหวัด ลด หวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง 5. องค์กรไร้พุง จังหวัดไร้พุง 6. กระบวนการพัฒนา

ทำอะไร กระบวนการพัฒนา หมู่บ้าน/ชุมชน รพศ./รพท./ รพช./ รพ.สต. โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้าน อาหาร 1. มีนโยบายและการดำเนินงาน  2. สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพ 3. การสื่อสารและสร้างกระแสสังคม 4. แผนสุขภาพตำบล / การสนับสนุน - 5. สร้างเครือข่าย แกนนำ 6. สำรวจพฤติกรรมบริโภค / ออกกำลังกาย 7. ประเมินภาวะโภชนาการ วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก 8. สำรวจปริมาณการใช้น้ำตาล น้ำมัน เกลือ น้ำปลา ซอสปรุงรส 9. กิจกรรมออกกำลังภายในหน่วยงานและในชุมชน 10. ทีมงาน / แกนนำ ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง 11. นวัตกรรมและกิจกรรมเด่น

มาตรการ 7. การบริหารจัดการข้อมูลในองค์กร 8. องค์กรประเมินตนเอง และปรับปรุง พัฒนาต่อเนื่อง 9. กรมอนามัย และศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 9.1 สร้างกระแสสังคม 9.2 ติดตาม ประเมินผล 9.3 ประกาศเกียรติคุณองค์กรดีเด่น ระดับเขต ประเทศ

ทำอย่างไร 1. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดย รพศ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. ดำเนินงานหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ร่วมกับท้องถิ่น โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้านอาหาร

ทำอย่างไร 2. กรมอนามัย และศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 จัดทำแนวทางและเกณฑ์การประเมิน - หมู่บ้าน/ชุมชน - รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. - โรงเรียน - ศูนย์เด็กเล็ก - ร้านอาหาร - องค์กรไร้พุง

ทำอย่างไร 3. แต่ละหน่วยงาน ดำเนินงานตามแนวทาง ของกรมอนามัย 3. แต่ละหน่วยงาน ดำเนินงานตามแนวทาง ของกรมอนามัย 4. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมข้อมูล การดำเนินงานตามแบบกำกับ ติดตาม ประเมินผล 4 ระดับ ได้แก่ - ดีมาก - ดี - พอใจ - พัฒนาได้ รวบรวมส่งข้อมูลให้สำนักโภชนาการ เพื่อนำเสนอความก้าวหน้าให้คณะกรรมการ บริหารกระทรวง